• ความตัดกันของสี default black white yellow black
  • ปรับขนาดตัวอักษร smaller default bigger
 
 
 
 
 
 

Green Office

หมวด 5
สภาพแวดล้อมและความปลอดภัย

หมวด/ตัวชี้วัด หลักฐาน/เอกสารอ้างอิงการตรวจประเมิน

5.1 อากาศในสำนักงาน

5.1.1 การควบคุมมลพิษทางอากาศในสำนักงาน

(1) มีแผนการดูแลรักษา ได้แก่ เครื่องปรับอากาศ เครื่องถ่าย เอกสาร เครื่องพิมพ์เอกสาร (Printer) พรมปูพื้นห้อง (ขึ้นอยู่กับสำนักงาน)
(2) มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบตาม แผนการดูแลรักษา
(3) มีการปฏิบัติตามแผนที่กำหนดในข้อ 1
(4) มีการควบคุมมลพิษทางอากาศจากการปฏิบัติในข้อ 1
(5) การจัดวางเครื่องปริ้นเตอร์ เครื่องถ่ายเอกสารให้ห่างไกลผู้ปฏิบัติงาน
(6) การควบคุมควันไอเสียรถยนต์บริเวณสำนักงาน เช่น ติดป้ายดับเครื่องยนต์
(7) การป้องกันและกำจัดแมลงที่จะสร้างมลพิษทางอากาศภายในสำนักงาน (ถ้ามี)
(8) มีการสื่อสารหรือแจ้งให้ทราบถึงการเกิดมลพิษทางอากาศจากกิจกรรมต่างๆ เพื่อการเตรียมความพร้อมและระวังการได้รับอันตราย (สามารถพิจารณาจากเอกสารหรือภาพถ่าย เป็นหลักฐานประกอบ)

 

5.1.1 (1) แผนการดูแลรักษา ได้แก่ เครื่องปรับอากาศ เครื่องพิมพ์เอกสาร (Printer)
               สำนักการต่างประเทศได้จัดทำแผนการดูแลรักษา ประจำปี พ.ศ. 2566
ได้แก่ เครื่องพิมพ์เอกสาร (
Printer) เครื่องปรับอากาศ รายละเอียด ดังนี้
      แผนการดูแลรักษา ประจำปี พ.ศ. 2566  การดำเนินการช่วง ก.ค.-ก.ย. 66         
      แผนเครื่องปรับอากาศ                     รายงาน (ปี)    เอกสารแนบ
      แผนครื่องพิมพ์เอกสาร (Printer)      รายงาน (ปี)    เอกสารแนบ

5.1.1 (2) การกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบตามแผนการดูแลรักษา


5.1.1 (3) 1. รายงานการดูแลบำรุงรักษาเครื่องปรับอากาศของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา
สำนักบริหารงานกลางดำเนินการเข้ามาดูแลรักษาเครื่องปรับอากาศ
ในสำนักการต่างประเทศ
ป็นประจำทุกเดือน


เอกสารแนบรายงานเครื่องปรับอากาศ 
ภาพ = ปี 2565  เดือน ต.ค., พ.ย., ธ.ค.
       =
ปี 2566  เดือน ม.ค., ก.พ., มี.ค., เม.ย., พ.ค.
สำนักการต่างประเทศดูแล รักษาเครื่องปรับอากาศให้อยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งาน
5.1.1 (3) 2. สำนักการต่างประเทศได้มีการตรวจสอบการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
เครื่องถ่ายเอกสารของสำนักเป็นประจำทุกเดือน โดยการทำความสะอาด การตรวจ
เช็ค
อุปกรณ์หลังเลิกใช้งาน พร้อมทั้งมีการตรวจสอบหมึกพิมพ์และกระดาษที่ใช้ต้อง
เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม


เอกสารแนบ รายงานการตรวจเครื่องคอมพิวเตอร์และPrinter
ภาพ  ปี 2565   เดือน พ.ย.ธ.ค
        ปี 2566   เดือน ม.ค., ก.พ., มี.ค., เม.ย., พ.ค.มิ.ย., ก.ค., ส.ค., ก.ย.
                   นอกจากนี้ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภายังได้มอบหมายให้
สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบในการดำเนินการ
เข้ามาดูแลบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงของสำนักการต่างประเทศ
ซึ่งได้เข้ามาดำเนินการแล้ว จำนวน 2 ครั้ง เมื่อช่วงเดือนพฤศจิกายน 2565 และ
เดือนเมษายน 2566  เอกสารแนบ  (การตรวจเดือน พ.ย., เม.ย.65)

5.1.1 (4) สำนักการต่างประเทศมีการควบคุมมลพิษทางอากาศ ดังนี้
    4.1 แผนควบคุมมลพิษทางอากาศควบคู่กับกิจกรรม 5ส
และการควบคุมมลพิษทางอากาศ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โดยการใช้กระดาษ
ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จัดวางเครื่องพิมพ์เอกสารให้ห่างไกลผู้ปฏิบัติงานมีการแจ้ง
เตือนบุคลากรเรื่องฝุ่นจากการทำความสะอาดเครื่องคอมพิวเตอร์ ดับเครื่องยนต์
ทุกครั้งเมื่อจอดรถในสำนักงาน ห้ามสูบบุหรี่บริเวณที่ห้ามสูบ เป็นต้น

        ประกาศสำนักการต่างประเทศ เรื่อง มาตรการการลดใช้พลังงาน ทรัพยากร
และการควบคุมมลพิษทางอากาศ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

     4.3 รายงานการตรวจสอบพื้นที่มลพิษที่เกิดจากควันบุหรี่
          รายงานการตรวจสอบพื้นที่มลพิษที่เกิดจากควันบุหรี่ 
             ปี 2565  
 เดือน พ.ย., ธ.ค.
            ปี 2566   เดือน ม.ค., ก.พ., มี.ค., เม.ย., พ.ค., มิ.ย., ก.ค., ส.ค., ก.ย.
เอกสารแนบ การประชาสัมพันธ์
    4.4 มีการประชาสัมพันธ์รณรงค์ดับเครื่องยนต์ทุกครั้งเมื่อจอดรถเป็นเวลานาน
เพื่อควบคุมควันไอเสียจากยานพาหนะบริเวณสำนักงาน
 
           เอกสารแนบ

5.1.1 (5) สำนักการต่างประเทศได้มีการจัดวางเครื่องปริ้นเตอร์ เครื่องถ่ายเอกสาร
ให้ห่างไกลผู้ปฏิบัติงานและมีอากาศถ่ายเทหมุนเวียนแล้วยังมีการจัดวางต้นไม้ที่ช่วย
ดูดซับสารพิษจากผงหมึกและสารพิษอื่น ๆ บริเวณใกล้เครื่องพิมพ์เอกสาร เพื่อช่วย
ลดสารพิษ
 เอกสารแนบ


5.1.1 (6) สำนักการต่างประเทศได้มีการรณรงค์ขอความร่วมมือจากบุคลากรในสำนัก
ให้ดำเนินการดับเครื่องยนต์ทุกครั้งขณะจอดรถภายในอาคาร เพื่อควบคุมควัน
ไอเสียรถยนต์และติดป้ายดับเครื่องยนต์และการติดบอร์ดประชาสัมพันธ์ในสำนัก

เอกสารแนบ


5.1.1 (7) สำนักการต่างประเทศได้มีแผนการควบคุมสัตว์พาหะนำโรคและมาตรการ
ป้องกันและกำจัดแมลงที่จะสร้างมลพิษทางอากาศภายในสำนักและมีการปฏิบัติ
ตามกิจกรรม 5ส และมีการรายงานการตรวจสอบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรคทุกเดือน

ซึ่งผลจากการตรวจล่าสุดเดือนมิถุนายนในขณะตรวจไม่พบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรค
เอกสารแนบ แผนควบคุม+ป้องกันกำจัด+5ส


      สำนักการต่างประเทศไม่มีการพ่นยากำจัดแมลง (หากมีการพ่นยากำจัดแมลง
อยู่ในความรับผิดชอบของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาดูแล)

       รายงานการตรวจสอบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรค (การประชาสัมพันธ์)
          ปี 2565
 เดือน พ.ย., ธ.ค.
         
 ปี 2566  เดือน ม.ค., ก.พ., มี.ค., เม.ย., พ.ค., มิ.ย., ก.ค. ส.ค., ก.ย.
                       การตรวจรายวันของเดือน พ.ย. 2565, ธ.ค. 2565,
ม.ค.ก.พ., มี.ค., เม.ย., พ.ค., มิ.ย., ก.ค., ส.ค., ก.ย. 2566
                      
 รวมรายวัน+รายเดือน
5.1.1 (8) มีการสื่อสารหรือแจ้ง
(8.1) มีการประกาศแจ้งบุคลากรในสำนักให้ทราบก่อนว่าจะมีเจ้าหน้าที่จากบริษัท
จะเข้ามาทำความสะอาดเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงให้แก่บุคลากรในสำนัก
และขอให้บุคลากรในสำนักหยุดปฏิบัติหน้าที่ปิดเครื่องและออกจากพื้นที่บริเวณโต๊ะ
ทำงานชั่วคราวก่อน เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกต่อเจ้าหน้าที่ที่จะเข้ามาปฏิบัติ
หน้าที่และเพื่อความปลอดภัยจากฝุ่นละอองที่เกิดจากการทำความสะอาด หลังจากนั้น
ให้บุคลากรทุกคนทำกิจกรรม 5ส กันก่อนเข้าปฏิบัติหน้าที่
         เอกสารแนบ
(8.2) มีการประชาสัมพันธ์แจ้งเตือนอันตรายจากเครื่องพิมพ์เอกสารและปฏิบัติ
ตามมาตรการลดใช้พลังงาน ทรัพยากร และการควบคุมมลพิษทางอากาศของ
สำนักการต่างประเทศ


(8.3) มาตรการ (หมวด 5) สภาพแวดแล้อมและความปลอดภัย
(8.4) ประกาศสำนัก เรื่อง มาตรการควบคุมการปฏิบัติงานของผู้ค้าขาย ผู้รับจ้าง
ด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย
   
   

5.1.2 มีการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่หรือมีการกำหนด พื้นที่สูบบุหรี่ที่เหมาะสมและปฏิบัติตามที่กำหนด

(1) มีการรณรงค์การไม่สูบบุหรี่
(2) มีการติดสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่
(3) มีการติดสัญลักษณ์เขตสูบบุหรี่
(4) เขตสูบบุหรี่จะต้องไม่อยู่ในบริเวณที่ก่อให้เกิด ความเดือดร้อน
     รำคาญแก่ประชาชนที่อยู่บริเวณ ข้างเคียง ไม่อยู่ในบริเวณทาง
     เข้า ออกของ สถานที่ที่ให้มีการคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบ
     บุหรี่ และไม่อยู่ในบริเวณที่เปิดเผยอันเป็นที่เห็นได้ชัดแก่ผู้มาใช้
     สถานที่นั้น
(5) ไม่พบการสูบบุหรี่ หรือก้นบุหรี่นอกเขตสูบบุหรี่

5.1.2 (1) สำนักการต่างประเทศมีการรณรงค์การไม่สูบบุหรี่  
              (สำนักการต่างประเทศไม่มีบุคลากรในสำนักสูบบุหรี่) 
             ได้มีการประชาสัมพันธ์การรณรงค์ไม่สูบบุหรี่ไว้ในสำนักการต่างประเทศ
เพื่อป้องกันและลดมลพิษด้านสิ่งแวดล้อม เสริมสร้างสุขภาวะทางกายแก่บุคลากร
นอกจากนี้ บุคลากรในสำนักยังเข้าร่วมรณรงค์ในวันงดสูบบุหรี่โลกที่จัดโดยสำนักงาน
เลขาธิการวุฒิสภาร่วมกับสสส.
 
เอกสารแนบ การประชาสัมพันธ์
    
5.1.2 (2) สำนักการต่างประเทศได้มีการติดป้ายห้ามสูบบุหรี่ 

5.1.2 (3)(4) สำนักงานเลขาธิการุวุฒิสภาได้จัดพื้นที่สูบบุหรี่ไว้ ณ บริเวณชั้น 1 โซน
โรงอาหาร (ด้านนอกของตัวอาคาร) มีการติดสัญลักษณ์เขตสูบบุหรี่ไว้ 

(ตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 มาตรา 44)
 สำนักการต่างประเทศได้มีส่วนในการร่วมในการติดป้ายสัญลักษณ์เขตสูบบุหรี่

5.1.2 (5) ในขณะที่เจ้าหน้าที่ทำการตรวจสอบไม่พบการสูบบุหรี่หรือก้นบุหรี่
นอกเขตสูบบุหรี่ประกอบกับบุคลากรในสำนักไม่มีผู้สูบบุหรี่
               สำนักการต่างประเทศมีการตรวจสอบสัปดาห์ละ 1 ครั้ง และได้จัดทำ
รายงานทุกเดือน
     
 รายงาน ณ วันที่ตรวจไม่พบการสูบบุหรี่ หรือก้นบุหรี่นอกเขตสูบบุหรี่ 
          ปี 2565  เดือน พ.ย., ธ.ค.,
          ปี 2566
 เดือน ม.ค., ก.พ., มี.ค., เม.ย., พ.ค., มิ.ย., ก.ค., ส.ค., ก.ย.

5.1.3 การจัดการมลพิษทางอากาศจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคารหรือ
อื่น ๆ ในสำนักงานที่ส่งผลต่อพนักงาน

(1) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการมลพิษอากาศจาก
การก่อสร้างปรับปรุงอาคาร
(2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดในข้อ (1) แนวทางการกำหนดมาตรการมีดังนี้ มีพื้นที่ทำงานสำรองให้กับพนักงานมีที่กั้นเพื่อกันมลพิษทางอากาศกระทบกับพนักงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้องมีการสื่อสารหรือติดป้ายแจ้งเตือน เพื่อการเตรียมความพร้อมและระวังการได้รับอันตราย

5.1.3 (1)  สำนักการต่างประเทศยืดถือแนวทางตามประกาศของสำนักงาน
เลขาธิการวุฒิสภา เรื่อง มาตรการป้องกันและรองรับผลกระทบสิ่งแวดล้อม
ด้านมลพิษทางอากาศและมลพิษทางเสียง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

               
 ใบอนุญาตปฏิบัติงานและข้อตกลงด้านสิ่งแวดล้อม
5.1.3 (2)  
 สำนักการต่างประเทศไม่มีการก่อสร้างหรือปรับปรุงสำนัก 
               
 สำนักการต่างประเทศได้มีการประชาสัมพันธ์แจ้งให้บุคลากร
ในสำนักทราบ เรื่อง มาตรการป้องกันและรองรับผลกระทบสิ่งแวดล้อม
ด้านมลพิษทางอากาศและมลพิษทางเสียง ของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา

5.2 แสงในสำนักงาน

5.2.1 มีการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง (โดยอุปกรณ์การตรวจวัดความเข้มแสงที่ได้มาตรฐาน) และดำเนินการแก้ไขตามที่มาตรฐานกำหนด

(1) มีการตรวจวัดความเข้มแสงประจำปีพร้อม แสดงหลักฐานผล
     การตรวจวัดแสงเฉพาะจุด ทำงานและพื้นที่ทำงาน
(2) เครื่องวัดแสงจะต้องมีมาตรฐานและได้รับการสอบเทียบ (แสดง
     หลักฐานใบรับรอง)
(3) ผลการตรวจวัดจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานกฎหมายกำหนด
(4) ผู้ที่ตรวจวัดความเข้มแสงจะต้องเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด

5.2.1 (1) สำนักการต่างประเทศได้มีการตรวจวัดความเข้มแสงเรียบร้อยแล้ว 
                เอกสารแนบ (1) (2) (3)



5.2.1 (2) ดำเนินการตรวจโดยใช้เครื่องวัดจากคณะสิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
 เอกสารแนบ (1) (2) (3)
5.2.1 (3)  ผลการตรวจวัดสำนักการต่างประเทศมีบริเวณที่มีค่าเฉลี่ยของ
ความเข้มแสงสว่างไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน (ต่ำกว่า 400 Lux) 
จำนวน 3 จุด
ได้แก่ บริเวณโต๊ะทำงานของผู้บังคับบัญชากลุ่มงาน บริเวณโต๊ะทำงาน
กลุ่มงานบริหารทั่วไป และบริเวณโต๊ะทำงานด้านในของเจ้าหน้าที่ 
         
         เอกสารแนบ (1) (2) (3)
               สำนักการต่างประเทศได้ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขแล้วโดยการ
ประสานงานกับสำนักบริหารงานกลางช่วยดำเนินการแก้ไขให้ ซึ่งสำนักบริหารงานกลางได้ดำเนินการติดตั้งหลอดไฟเพิ่มให้แล้ว
 
                  เอกสารแนบ (3) (4)

5.2.1 (4) 
เจ้าหน้าที่สำนักบริหารงานกลางได้มีการดำเนินการปรับปรุงแสงสว่าง
ภายในสำนักการต่างประเทศแล้ว ตามข้อเสนอแนะและแนวทางปรับปรุงแก้ไข
ของทางมหาวิทยาลัยมหิดล

             
 เอกสารแนบ (3) (4)
    

5.3 เสียง

5.3.1 การควบคุมมลพิษทางเสียงภายในอาคารสำนักงาน

(1) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการเสียงดังที่มาจากภายใน
     สำนักงาน
(2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดในข้อ (1) ถ้าพบว่ามีเสียงดัง
     ที่มาจากภายในสำนักงาน


5.3.1 (1)  สำนักการต่างประเทศยืดถือแนวทางตามประกาศของสำนักงาน
เลขาธิการวุฒิสภา เรื่อง มาตรการป้องกันและรองรับผลกระทบสิ่งแวดล้อม
ด้านมลพิษทางอากาศและมลพิษทางเสียง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

                ประกาศสำนัก เรื่อง มาตรการควบคุมการปฏิบัติงานของ
ผู้ค้าขาย ผู้รับจ้าง ด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย

5.3.1 (2)   มีการตรวจวัดเสียงจากคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล ผลปรากฏว่า มีค่าเสียงอยู่ในระดับปกติไม่พบอันตราย
จากเสียงดังต่อผู้ปฏิบัติงานในสำนักการต่างประเทศ
เอกสารแนบ

5.3.2 การจัดการเสียงดังจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคารหรืออื่น ๆ ในสำนักงานที่ส่งผลต่อพนักงาน

(1) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการเสียงดังที่เกิดจากการ
     ก่อสร้างปรับปรุงอาคาร
(2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดในข้อ (1) ถ้าพบว่ามีเสียงดัง
     ที่มาจากภายนอกสำนักงาน แนวทางการกำหนดมาตรการ
     มีดังนี้
      - มีพื้นที่ทำงานสำรองให้กับพนักงาน
      - มีการสื่อสารหรือติดป้ายแจ้งเตือน เพื่อการเตรียมความพร้อม
        และระวังการได้รับอันตราย


5.3.2 (1)  สำนักการต่างประเทศยืดถือแนวทางตามประกาศของสำนักงาน
เลขาธิการวุฒิสภา เรื่อง มาตรการป้องกันและรองรับผลกระทบสิ่งแวดล้อม
ด้านมลพิษทางอากาศและมลพิษทางเสียง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

                ประกาศสำนัก เรื่อง มาตรการควบคุมการปฏิบัติงานของ
ผู้ค้าขาย ผู้รับจ้าง ด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย

5.3.2 (2) สำนักการต่างประเทศไม่มีการก่อสร้างหรือปรับปรุงอาคารที่มีเสียง
ส่งผลกระทบต่อบุคลากรในสำนัก
               สำนักการต่างประเทศได้มีการประชาสัมพันธ์แจ้งให้บุคลากรในสำนักทราบ
เรื่อง 
มาตรการป้องกันและรองรับผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านมลพิษทางอากาศและ
มลพิษทางเสียง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
 ของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา
และ
ประกาศสำนัก เรื่อง มาตรการควบคุมการปฏิบัติงานของผู้ค้าขาย ผู้รับจ้าง 
ด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย

5.4 ความน่าอยู่

5.4.1 มีการวางแผนจัดการความน่าอยู่ของสำนักงานโดยจะต้องดำเนินการดังนี้

(1)  จัดทำแผนผังของสำนักงานทั้งในตัวอาคารและ นอกอาคาร
     โดยจะต้องกำหนดพื้นที่ใช้งานอย่างชัดเจน เช่น พื้นที่พักผ่อน 
     หย่อนใจ พื้นที่สีเขียว พื้นที่ส่วนรวมและพื้นที่ทำงาน เป็นต้น
     สามารถสื่อสารด้วยป้ายหรืออื่น ๆ ที่เหมาะสมเพื่อบ่งชี้
(2) มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างเหมาะสมทั้งพื้นที่
     เฉพาะและพื้นที่ทั่วไป ทั้งในอาคารและนอกอาคาร
(3) มีการกำหนดเวลาดูแลรักษาความสะอาด และความเป็น
     ระเบียบเรียบร้อย ทั้งพื้นที่เฉพาะและพื้นที่ทั่วไป ทั้งในอาคาร
     และนอกอาคาร
(4) การกำหนดแผนงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียว และคงรักษาไว้ของ
     สำนักงานรวมไปถึงมีการปฏิบัติ จริงตามแผนงาน

          สำนักการต่างประเทศได้มีการดำเนินการตามแผนการบำรุงรักษา
มีกิจกรรม 5ส โดยการรณรงค์ให้บุคลากรในสำนักทำ 5ส ทุกวัน ทุกสัปดาห์
แล้วจัดทำรายงาน เดือนละครั้ง และกิจกรรม Big Cleaning Day
        แผนการดูแลรักษา ประจำปี พ.ศ. 2566  
การดำเนินการช่วง ก.ค.-ก.ย. 66   
        5.4.1 (1) สำนักการต่างประเทศได้ดำเนินการจัดทำแผนผังสำนักและ
ป้ายชื่อห้อง
        แผนผังสำนักและป้ายชื่อห้อง

      
5.4.1 (2) กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบตามแผนการดูแลรักษา
และมีแม่บ้านช่วยทำความสะอาดพื้นที่ในสำนักการต่างประเทศ

      5.4.1 (3) สำนักการต่างประเทศได้มีการจัดกิจกรรม Big Cleaning Day มาแล้ว
จำนวน 2
 ครั้ง ครั้งที่ 1 วันที่ 16 ธันวาคม 2565 และครั้งที่ 2 วันที่ 8 มิถุนายน 2566


เอกสารการประชาสัมพันธ์
                สำนักการต่างประเทศได้จัดกิจกรรม 5ส ภายในสำนักตามมาตรการ
(หมวด 5) สภาพแวดล้อมและความปลอดภัย โดยรณรงค์ให้บุคลากรในสำนักทำ
5ส ทุกวัน ทุกสัปดาห์ 
                 รายงานประเมินการตรวจสอบกิจกรรม 5ส 
                    (แผนการดูแลพื้นที่กิจกรรม 5ส ของสำนักการต่างประเทศ)
           
ภาพ ปี 2565  เดือน พ.ย., ธ.ค.
                       ปี 2566   เดือน ม.ค., ก.พ., มี.ค., เม.ย., พ.ค., มิ.ย., ก.ค. , ส.ค., ก.ย.
                
 รายงานทุก 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน

            นอกจากนี้ ยังมีแม่บ้านที่สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาจัดหามาให้เพื่อช่วย
ดำเนินการ
ในการทำความสะอาดห้องของสำนักการต่างประเทศ ซึ่งแม่บ้านจะเข้ามา
ทำความสะอาด
ทุกวันและเก็บขยะในห้องทุกวัน วันละ 2 รอบ เวลา 08.00 นาฬิกา และ
เวลา 15.30 นาฬิกา 
หลังจากเวลา 15.30 นาฬิกา ทางสำนักการต่างประเทศมีนโยบาย
ไม่ให้ทิ้งขยะที่ปนเปื้อนเศษ
อาหารในห้องทำงาน เพื่อความสะอาดและป้องกันพาหะ
นำโรค โดยเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ
ของหมวด 4 จะดำเนินการตรวจเช็คถังขยะทุกครั้ง
หลังเลิกปฏิบัติงาน

            5.4.1 (4) สำนักการต่างประเทศไม่มีการเพิ่มพื้นที่สีเขียว เนื่องจากพื้นที่ของ
สำนักการต่างประเทศมีจำกัด
แต่ยังคงรักษาไว้ซี่งพื้นที่สีเขียวของสำนัก โดยมีการ
ดูแลรักษาตามกิจกรรม 5ส เพื่อให้เป็นสำนักที่น่าอยู่ และได้มีการดำเนินการจัดกิจกรรม
BFA Green Heart โดยการให้บุคลากรนำต้นไม้มาตกแต่งสำนักให้มีสภาพแวดล้อมที่ดี
เอกสารแนบ

5.4.2 ร้อยละการใช้สอยพื้นที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่สำนักงานกำหนด 5.4.2 สำนักการต่างประเทศได้ดำเนินการตรวจสอบการใช้สอยพื้นที่ในสำนัก
ผลปรากฏว่า ณ วันที่ดำเนินตรวจมีการใช้พื้นที่เป็นตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
คิดเป็นร้อยละ 100


 แผนการดูแลพื้นที่ใช้สอย
 รายงานพื้นที่ใช้สอย
    ภาพ  ปี 2565  เดือน พ.ย., ธ.ค.
            
ปี 2566  เดือน ม.ค., ก.พ., มี.ค., เม.ย., พ.ค., มิ.ย., ก.ค., ส.ค., ก.ย.
5.4.3 ร้อยละการดูแลบำรุงรักษาพื้นที่ต่าง ๆ เช่น พื้นที่สีเขียว พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่ส่วนกลาง และพื้นที่ทำงาน เป็นต้น 5.4.3 สำนักการต่างประเทศไม่มีการเพิ่มพื้นที่สีเขียว เนื่องจากพื้นที่ของสำนัก
มีจำกัด แต่ยังคงรักษาไว้พื้นที่สีเขียวของสำนัก โดยดำเนินการจัดกิจกรรม 5ส
ภายในสำนักตาม  
   1. มาตรการ (หมวด 5) สภาพแวดล้อมและความปลอดภัย

   2. รายงานผลการดำเนินการ 5ส (จาก 5.4.1 (3))
                 รายงานประเมินการตรวจสอบกิจกรรม 5ส 
                   
(แผนการดูแลพื้นที่กิจกรรม 5ส ของสำนักการต่างประเทศ)
           ภาพ  =  ปี 2565  เดือน พ.ย.ธ.ค.
                       ปี 2566   เดือน ม.ค.ก.พ.มี.ค.เม.ย.พ.ค.มิ.ย., ก.ค. ส.ค., ก.ย.
                
 รายงานทุก 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน
   3. การตรวจสอบการใช้สอยพื้นที่ของสำนักการต่างประเทศ คิดเป็นร้อยละ 100
 (จาก 5.4.2)

 แผนการดูแลพื้นที่ใช้สอย
 รายงานพื้นที่ใช้สอย
    ภาพ  ปี 2565  เดือน พ.ย.ธ.ค.
            
ปี 2566  เดือน ม.ค., ก.พ.มี.ค., เม.ย.พ.ค., มิ.ย., ก.ค., ส.ค.ก.ย.
5.4.4 มีการควบคุมสัตว์พาหะนำโรคและดำเนินการได้ตามที่กำหนด
(1) มีการกำหนดแนวทางการป้องกันสัตว์พาหะนำโรคในสำนักงานอย่างเหมาะสม ได้แก่ นกพิราบ หนู แมลงสาบ และอื่น ๆ
(2) มีการกำหนดความถี่ในการตรวจสอบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรคอย่างน้อยที่สุดเดือนละ 1 ครั้ง
(3) มีการตรวจสอบร่องรอยตามความถี่ที่ได้กำหนด
(เฉพาะตอนกลางวัน)
(4) มีแนวทางที่เหมาะสมกับการจัดการเมื่อพบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรค
(5) ไม่พบร่องรอยหรือสัตว์นำโรคในระหว่างการตรวจประเมินของกรมฯ
หมายเหตุ : การควบคุมสัตว์พาหะนำโรค สำนักงานสามารถควบคุมและจัดการได้เอง หรือว่าจ้างหน่วยงานเฉพาะมาดำเนินการแทน

5.4.4 (1) สำนักการต่างประเทศได้จัดทำแนวทางและแผนการป้องกันและ
การควบคุมสัตว์พาหะนำโรค (หนู แมลงสาบ แมลงวัน มด) ซึ่งได้ดำเนินการแล้ว

เอกสารแนบ แผนควบคุม+ป้องกันกำจัด+5ส
       รายงานการตรวจสอบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรค (การประชาสัมพันธ์)
          ปี 2565 
 เดือน พ.ย.ธ.ค.
         
 ปี 2566  เดือน ม.ค.ก.พ.มี.ค.เม.ย.พ.ค.มิ.ย.ก.ค. ส.ค., ก.ย.
                       การตรวจรายวันของเดือน พ.ย. 2565ธ.ค. 2565,
ม.ค.ก.พ.มี.ค.เม.ย., พ.ค.มิ.ย., ก.ค., ส.ค.ก.ย. 2566
                      
 รวมรายวัน+รายเดือน
5.4.4 (2) สำนักการต่างประเทศมีการกำหนดความถี่ในการตรวจสอบร่องรอยสัตว์
พาหะนำโรคทุกวันและรายงานทุกเดือน  

5.4.4 (3) รายงานการตรวจสอบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรค
       รายงานการตรวจสอบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรค (การประชาสัมพันธ์)
          ปี 2565 
 เดือน พ.ย.ธ.ค.
         
 ปี 2566  เดือน ม.ค.ก.พ.มี.ค.เม.ย.พ.ค.มิ.ย.ก.ค. ส.ค., ก.ย.
                       การตรวจรายวันของเดือน พ.ย. 2565ธ.ค. 2565,
ม.ค.ก.พ.มี.ค.เม.ย., พ.ค.มิ.ย., ก.ค., ส.ค.ก.ย. 2566
                      
 รวมรายวัน+รายเดือน
5.4.4 (4) มีแนวทางที่เหมาะสมกับการจัดการเมื่อพบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรค
5.4.4 (5) หลักฐานการตรวจร่องรอยสัตว์พาหะนำโรค (ผ่านการประเมินจากกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อมแล้ว) 
5.5 การเตรียมพร้อมต่อสภาวะฉุกเฉิน
5.5.1 การอบรมฝึกซ้อมดับเพลิงและอพยพหนีไฟ ตามแผนที่กำหนด

(1) มีการกำหนดแผนการฝึกอบรมและอพยพหนีไฟ
(2) จำนวนคนเข้าอบรมฝึกซ้อมดับเพลิงขั้นต้น จะต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 40 ของพนักงานทั้งหมด
(3) พนักงานทุกคนจะต้องเข้าฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
(4) มีการอบรมดับเพลิงขั้นต้นตามแผนที่กำหนด พร้อมแสดง
หลักฐาน เช่น ใบรับรองการอบรมภาพถ่าย เป็นต้น
(5) มีการฝึกซ้อมอพยพตามแผนที่กำหนด พร้อมแสดงหลักฐาน เช่น ใบรับรอง ภาพถ่าย เป็นต้น
(6) มีจุดรวมพลที่สามารถรองรับได้ พร้อมมีป้ายแสดงอย่างชัดเจน
(7) มีการกำหนดเส้นทางหนีไฟ ธงนำทางหนีไฟไปยังจุดรวมพลพร้อมสื่อสารในพื้นที่ปฏิบัติงาน
(8) มีการกำหนดทางออกฉุกเฉิน ทางหนีไฟพร้อมมีป้ายแสดงอย่างชัดเจน

 

5.5.1 (1)  แผนการบำรุงรักษา ประจำปี พ.ศ. 2566 การดำเนินการช่วง ก.ค.-ก.ย. 66  
                แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย (แผนฉุกเฉิน) ของสำนักงาน
เลขาธิการวุฒิสภา

               
 สำนักการต่างประเทศมีแผนการฝึกอบรมและอพยพหนีไฟ
ตามแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาซึ่งได้จัดขึ้น
เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2566 ณ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาและมีรายงาน
การฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมหนีไฟของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา

             
 มีการกำหนดหน้าที่รับผิดชอบของผู้ปฏิบัติการในแผนอพยพหนีไฟ
และมีการประชาสัมพันธ์เบอร์โทรศัพท์ฉุกเฉิน


5.5.1 (2)(3) สำนักการต่างประเทศได้ส่งบุคลากรเข้าร่วมอบรมฝึกซ้อมดับเพลิงทุกคน
ซึ่งจัดโดยสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา และบุคลากรของสำนักการต่างประเทศได้
เข้าร่วมและลงชื่อเข้ารับการฝึกอบรมครบทุกคน เมื่อวันที่ 22 กุมพาพันธ์ 2566


5.5.1 (4)(5) 
 การฝึกซ้อมดับเพลิงและการซักซ้อมการอพยพหนีไฟของ
สำนักการต่างประเทศ

                    มีหลักฐานในการอบรมดับเพลิงและการฝึกซ้อมอพยพตามแผนที่กำหนด เช่น ใบรับรองการอบรมและภาพถ่าย

                 
 รายงานสรุปผลการจัดโครงการซักซ้อมอพยพหนีไฟตามแผนป้องกัน
และระงับอัคคีภัยของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาและเผยแพร่คลิปวีดิโอการซักซ้อม
อพยพหนีไฟ

5.5.1 (6) สำนักการต่างประเทศได้ปฏิบัติตามแนวทางของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา
ซึ่งได้กำหนด
จุดรวมพลที่สามารถรองรับบุคลากรพร้อมป้ายแสดงอย่างชัดเจน ชั้น 1
บริเวณริมแม่น้ำเจ้าพระยา และมีการกำหนดเส้นทางหนีไฟ การติดตั้งธงนำทางหนีไฟ
เรียบร้อยแล้ว

5.5.1 (7) สำนักการต่างประเทศมีการกำหนดเส้นทางหนีไฟ ธงนำทางหนีไฟไปยัง
จุดรวมพลพร้อมสื่อสารในพื้นที่ปฏิบัติงาน


5.1.1 (8) สำนักการต่างประเทศมีการกำหนดทางออกฉุกเฉิน ทางหนีไฟ
พร้อมมีป้ายแสดงอย่างชัดเจน

5.5.2 มีแผนฉุกเฉินที่เป็นปัจจุบันและเหมาะสม และร้อยละของพนักงานที่เข้าใจแผนฉุกเฉิน (สุ่มสอบถามอย่างน้อย 4 คน) 5.5.2  สำนักการต่างประเทศปฏิบัติตามแนวทางแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
(แผนฉุกเฉิน) ของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา

         
 สำนักการต่างประเทศได้มีแผนฉุกเฉินกรณีเกิดอัคคีภัยเพื่อเตรียมอพยพ
บุคลากรในสำนัก

         
 สำนักการต่างประเทศมีการให้ความรู้เรื่องแผนฉุกเฉินและความรู้เกี่ยวกับ
การใช้ถังดับเพลิงด้วยการติดบอร์ดประชาสัมพันธ์ในสำนักและประชาสัมพันธ์
ทาง Line, Facebook ของสำนักการต่างประเทศ เอกสารแนบ
         
 ความรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์ดับเพลิงและวิธีใช้งาน
         
 VDO สาธิตการใช้ถังดับเพลิงจากสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร (เพลิงไหม้ มีภัย โทร.199)
         
 VDO การฝึกอบรมการอพยพหนีไฟของบุคลากรสำนัก ครั้งที่ 1
         
 การซ้อมหนีไฟของบุคลากรในสำนักการต่างประเทศ ครั้งที่ 2
5.5.3 ความเพียงพอและการพร้อมใช้งานของอุปกรณ์ระบบดับเพลิงและป้องกันอัคคีภัย และระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้และร้อยละของพนักงานทราบวิธีการใช้และตรวจสอบอุปกรณ์ดังกล่าว
(สุ่มสอบถามอย่างน้อย 4 คน)

(1) มีการติดตั้งและเตรียมอุปกรณ์ดับเพลิง
     – ถังดับเพลิงมีเพียงพอต่อการใช้งาน (กำหนดระยะห่างอย่างน้อย 20 เมตร/ถัง
ตามกฎหมาย ติดตั้งสูงจากพื้นไม่เกิน 150 เซนติเมตร นับจากคันบีบและถ้าเป็นวางกับพื้นที่จะต้องมีฐานรองรับ) พร้อมกับติดป้ายแสดง
      – ติดตั้งระบบเครื่องสูบน้ำดับเพลิง (ถ้ามี)
      – สายฉีดน้ำดับเพลิงและตู้เก็บสายฉีด (Hose and Hose Station) (ถ้ามี)
(2) ติดตั้งระบบสัญญาณแจ้งเตือนและต้องพร้อมใช้งาน
     – สัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (พื้นที่ มากกว่า 300 ตารางเมตรหรืออาคาร
สูงเกิน 2 ชั้นขึ้นไป)
     – ติดตั้งตัวดักจับควันหรือความร้อน
(3) มีการตรวจสอบข้อ (1)-(2) และหากพบว่าชำรุดจะต้องดำเนินการแจ้งซ่อม
และแก้ไข
(4) พนักงานจะต้องเข้าใจถึงวิธีการใช้และตรวจสอบอุปกรณ์ดับเพลิงและสัญญาณ
แจ้งเตือนอย่างน้อยร้อยละ 75 จากที่สุ่มสอบถาม
(5) ไม่มีสิ่งกีดขวางอุปกรณ์ดับเพลิง และสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้
5.5.3 (1)(2)  มีการติดตั้งและเตรียมอุปกรณ์ดับเพลิงมีการติดตั้งระบบสัญญาณแจ้งเตือนและพร้อมใช้งาน
                   ระบบสัญญาณแจ้งเตือนเหตุฉุกเฉิน

5.5.3 (3) สำนักมีการตรวจสอบอุปกรณ์ดับเพลิงทุกเดือน เดือนละ 1 ครั้ง
             
 ใบตรวจสภาพถังดับเพลิงทุกเดือน เดือนละ 1 ครั้ง
             
 รายงานการตรวจถังดับเพลิง
                ปี 2565 เดือน พ.ย., ธ.ค.
                ปี 2566 เดือน ม.ค., ก.พ., มี.ค., เม.ย., พ.ค., มิ.ย., ก.ค., ส.ค., ก.ย.
             การตรวจสอบถังดับเพลิงผ่าน Google Forms ของสำนักงานเลขาธิการ
วุฒิสภา
 เป็นประจำทุกเดือน

5.5.3 (4)  เจ้าหน้าที่ตำรวจรัฐสภา กลุ่มงานรักษาความปลอดภัย
สำนักบริหารงานกลางได้มาให้ความรู้คำแนะนำและแนวทางปฏิบัติเมื่อเกิดสภาวะ
ฉุกเฉิน
 จาก
5.5.1 (4)(5)
               
 สำนักการต่างประเทศ ได้ดำเนินการเผยแพร่ VDO การสาธิตวิธีการใช้ถัง
ดับเพลิง “ดึง ปลด กด ส่าย” ของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร
ผ่าน Facebookของสำนักการต่างประเทศ 

5.5.3 (5) ไม่มีสิ่งกีดขวางอุปกรณ์ดับเพลิง และสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ เอกสารแนบ