• ความตัดกันของสี default black white yellow black
  • ปรับขนาดตัวอักษร smaller default bigger
 
 
 
 
 
 

Green Office

หมวดที่ 2
การสื่อสารและสร้างจิตสำนึก

 
หมวด/ตัวชี้วัด หลักฐาน/เอกสารอ้างอิงการตรวจประเมิน

2.1 การอบรมให้ความรู้และประเมินความเข้าใจ

2.1.1 กำหนดแผนการฝึกอบรม ดำเนินการอบรม การประเมินผล และบันทึกประวัติการฝึกอบรม

(1) ระบุหลักสูตรและความถี่การอบรมลงในแผนการฝึกอบรม โดยหลักสูตรมีรายละเอียดอย่างน้อย ดังนี้
- ความสำคัญของสำนักงานสีเขียว
- การใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
- การจัดการมลพิษและของเสีย
- การจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
- ก๊าซเรือนกระจก
(2) ดำเนินการฝึกอบรมตามแผนการฝึกอบรมในข้อ (1) โดยผู้รับการอบรมจะต้องมากกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายในแต่ละหลักสูตร
(3) มีการประเมินผลการฝึกอบรม เช่น ข้อสอบ หรือการประเมินขณะปฏิบัติงาน เป็นต้น




















































(4) จัดทำประวัติการอบรมของพนักงาน


 1. ดำเนินการจัดทำแผนการฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อมของบุคลากรสำนักการพิมพ์
       - หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง




   
 2. - 3. ดำเนินการจัดฝึกอบรมตามแผนการฝึกอบรม โดยมีผู้เข้าอบรมร้อยละ ๑๐๐ ของกลุ่มเป้าหมาย ในแต่ละหลักสูตร และประเมินผลการฝึกอบรม จำนวน 7 หลักสูตร ดังนี้
         2.1 โครงการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสำนักงานสีเขียว (Green Office) หลักสูตร สำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Office) ผ่านระบบออนไลน์

       
- ประกาศนียบัตรรับรองผ่านการอบรม
        - ประเมินผลการฝึกอบรม
        - แบบประเมิน ก่อน - หลัง การฝึกอบรม
        - ใบลงทะเบียน หลักสูตร สำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

         2.2 โครงการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสำนักงานสีเขียว (Green Office) หลักสูตร สำนักงานสีเขียว ผ่านระบบออนไลน์
        - ประกาศนียบัตรรับรองผ่านการอบรม
        - ประเมินผลการฝึกอบรม
        - แบบประเมิน ก่อน - หลัง การฝึกอบรม
       - ใบลงทะเบียน หลักสูตร สำนักงานสีเขียว

         2.3 การอบรมให้ความรู้และประเมินความเข้าใจด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อขับเคลื่อนสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาเป็นสำนักงานสีเขียว (Green Office)
         หลักสูตรที่ 1 โดยมีเนื้อหา ดังนี้
- ความสำคัญของสำนักงานสีเขียว
- การใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
- การจัดการมลพิษและของเสีย
- การจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
- ก๊าซเรือนกระจก
      หลักสูตรที่ 2 การจัดทำทะเบียนกฎหมายและข้อกำหนดด้านสิ่งแวดล้อม

        - ใบลงทะเบียนฝึกอบรม
        - ประเมินผลการฝึกอบรม
        - แบบประเมิน ก่อน - หลัง การฝึกอบรม
        - ภาพกิจกรรมการฝึกอบรม
        2.4 โครงการซักซ้อมอพยพหนีไฟตามแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา
            - การซักซ้อมอพยพหนีไฟตามแผน ป้องกันและระงับอัคคีภัย สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภารับฟังบรรยายสรุปและให้ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตน เมื่อเป็นผู้ประสบเหตุอัคคีภัย (ภาคทฤษฎี)
          - การซักซ้อมอพยพหนีไฟตามแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา (ภาคปฏิบัติ)

        - ใบลงทะเบียนฝึกอบรม
        - ประเมินผลการฝึกอบรม

        - แบบประเมิน ก่อน - หลัง การฝึกอบรม
         - ภาพกิจกรรมการฝึกอบรม

        2.5 โครงการศึกษาดูงาน ณ สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร โดยเป็นหน่วยงานต้นแบบการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว (Green Office)
        - ใบลงทะเบียนฝึกอบรม
        - ภาพกิจกรรมการฝึกอบรม
        2.6 โครงการพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงานการบริการตามมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพ (ISO 9001 : 2015 หัวข้อ การจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และกระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
        - ใบลงทะเบียนฝึกอบรม
        - ประเมินผลการฝึกอบรม
        - แบบทดสอบประเมินการฝึกอบรม
        - ภาพกิจกรรมการฝึกอบรม
        2.7 โครงการฝึกอบรมสร้างความรู้ความเข้าใจ ในการระบุประเมินปัญหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม และการจัดทำแผนงานโครงการที่นำไปสู่การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
        - ใบลงทะเบียนฝึกอบรม
        - ประเมินผลการฝึกอบรม
        - แบบทดสอบประเมินการฝึกอบรม
        - ภาพกิจกรรมการฝึกอบรม
 4. สถิติประวัติการอบรมของบุคลากรสำนักการพิมพ์
         - หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง

     

2.1.2 กำหนดผู้รับผิดชอบด้านการอบรมแต่ละหลักสูตรมีความเหมาะสม

1. ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้องเข้าใจเนื้อหาในการอบรม
2. ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้องมีหลักฐานแสดงความสามารถ เช่น ใบรับรองจากหน่วยงานภายนอก/ประวัติ/ประสบการณ์


 


     (1) - (2)  ประวัติวิทยากรในการอบรม โดยผู้รับผิดชอบในการอบรมมีความรู้ความเข้าใจและมีความเชี่ยวชาญในการอบรม
         - หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง




 

2.2 การรณรงค์และประชาสัมพันธ์แก่บุคลากร

2.2.1 มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและแนวทางการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมทั้งภายในภายนอกสำนัก

(1) กำหนดหัวข้อและความถี่การสื่อสารอย่างน้อย ดังนี้


(2) กำหนดช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ กับหัวข้อการสื่อสารและองค์กร


(3) กำหนดกลุ่มเป้าหมายรับเรื่องสื่อสาร  (ผู้ที่เกี่ยวข้องที่อยู่ภายในและภายนอกสำนัก)




(4) กำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสาร



(5) มีการประเมินความพึงพอใจด้านการสื่อสารและสร้างจิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อม


(1) กำหนดหัวข้อและความถี่การสื่อสารอย่างน้อย 9 หัวข้อดังนี้
         - หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง























(2) กำหนดช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพกับหัวข้อการสื่อสาร จำนวน 6 ช่องทางในแผนการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อม
           - หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง
     
(3) มีการกำหนดกลุ่มเป้าหมายรับเรื่องสื่อสารผู้ที่เกี่ยวข้องที่อยู่ภายในและภายนอกสำนักตามแบบฟอร์มที่กำหนดในแผนการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อม

           - หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง
       
(4) ดำเนินการกำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมในแต่ละช่องทางอย่างชัดเจน

           - หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง

(5) มีการประเมินความพึงพอใจด้านการสื่อสารและสร้างจิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อนำมาพัฒนาปรับปรุงการสื่อสารด้านสิ่งพิมพ์ภายในสำนักการพิมพ์
           - หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง

 

2.2.2 มีการรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ตามที่กำหนดในข้อ 2.2.1

2.2.2 การรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ตามที่กำหนด ข้อ 2.2.1 อย่างน้อย 9 หัวข้อ ดังนี้
   
- หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง

2.2.3 ร้อยละความเข้าใจนโยบายสิ่งแวดล้อมและการดำเนินงานสำนักงานสีเขียวโดยสอบถามบุคลากรแต่ละคน (สุ่มอย่างน้อย 4 คน)

2.2.3 ดำเนินการสุ่มสอบถามบุคลากรภายในสำนัก การพิมพ์ ตามหัวข้อที่กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมกำหนด อย่างน้อย ๙ หัวข้อ ในกิจกรรม Green On Tour “รักษ์โลก เริ่มจากสิ่งเล็ก ๆ เริ่มที่ ตัวเรา” จำนวน 4 คน
         - หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง

 

2.2.4 มีช่องทางรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม และนำมาปรับปรุงแก้ไข โดยต้องมีแนวทางดังนี้

(1) มีช่องทางเพื่อรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม เช่น Line, QR Code การประชุมเว็บไซต์

(2) มีผู้รับผิดชอบในการรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น


(3) มีการแสดงข้อเสนอแนะด้านสิ่งแวดล้อมและการจัดการ



(4) มีการรายงานข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นและการจัดการแกผู้บริหาร












 

 


(1) ช่องทางรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม จำนวน 8 ช่องทาง ดังนี้
       - หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง

(2) ผู้รับผิดชอบและแนวทางการรับข้อเสนอแนะในการรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น
       
- หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง

(3) สำนักการพิมพ์ไม่พบข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม และได้กำหนดแนวทางการรับเรื่องร้องเรียนและแก้ไข
         - หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง

(4) การรายงานข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นและการจัดการแก่ผู้บริหารทุกเดือน และในการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร
       - การประชุมทบทวยฝ่ายบริหาร ครั้งที่ 2/2566
       - การประชุมทบทวยฝ่ายบริหาร ครั้งที่ 3/2566
ต.ค. 65   พ.ย. 65   ธ.ค. 65   ม.ค. 66   ก.พ. 66   มี.ค. 66  เม.ย. 66   พ.ค. 66   มิ.ย. 66  ก.ค. 66   ส.ค. 66   ก.ย. 66 
ต.ค 66   พ.ย. 66   ธ.ค. 66  ม.ค.67 ก.พ.67 มี.ค.67


 

 

เอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงาน

 

1. รายชื่อ/ คำสั่งคณะทำงาน ฯ 
     - หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง

2. แผนการดำเนินงานคณะทำงาน ฯ (หมวด 2) 
การสื่อสารและสร้างจิตสำนึก
     - หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง

3. แผนการดำเนินงานกิจกรรม Green On Tour "รักษ์โลก เริ่มจากสิ่งเล็ก ๆ เริ่มที่ตัวเรา
     
 - หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง

4. การประชุมคณะทำงานหมวด 2
   - ครั้งที่ 1
   - ครั้งที่ 2