• ความตัดกันของสี default black white yellow black
  • ปรับขนาดตัวอักษร smaller default bigger
 
 
 
 
 
 
 

Green Office

หมวดที่ 4
การจัดการของเสีย

หมวด/ตัวชี้วัด หลักฐาน/เอกสารอ้างอิงการตรวจประเมิน

4.1 การจัดการของเสีย

4.1.1 มีการดำเนินงานตามแนวทางการคัดแยก รวบรวมและกำจัดขยะอย่างเหมาะสมมีแนวทางการดำเนินงาน
 

(1) มีการคัดแยกขยะตามประเภทขยะที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมภายในสำนักงาน และจัดวางถังขยะตามพื้นที่ทำงานต่าง ๆ อย่างเหมาะสมทุกจุดที่สุ่มตรวจสอบ


(2) มีการติดป้ายบ่งชี้ประเภทขยะถูกต้องต้องและชัดเจนทุกถังที่สุ่มตรวจสอบ




(3) มีจุดพักขยะที่เหมาะสมตามหลักวิชาการ โดยจะต้องมีพื้นที่รองรับขยะแต่ละประเภทจาก
      (1) อย่างเพียงพอ



(4) มีการทิ้งขยะถูกต้องทุกจุดที่สุ่มตรวจสอบ














(5) มีการส่งขยะให้ กทม. หรือผู้รับจ้างที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย





(6) มีการติดตาม ตรวจสอบการกำจัดขยะของผู้จ้างให้มีการจัดการอย่างเหมาะสม
      ตามหลักวิชาการ (กรณีส่งให้ อปท. ให้ถือว่ามีการจัดการอย่างเหมาะสม)



(7) ไม่มีการเผาขยะในบริเวณหรือพื้นที่ของสำนักงาน
      (ยกเว้นเตาเผาที่ได้รับการอนุญาตอย่างถูกต้อง)

 





           - สำนักการพิมพ์มีการดำเนินงานตามแนวทางการคัดแยกขยะตามประเภทขยะที่เกิดขึ้น
              จากกิจกรรมภายในสำนักการพิมพ์และมีการจัดวางขยะตามพื้นที่ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม 

 - หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง
 
 - สำนักการพิมพ์ดำเนินการติดป้ายบ่งชี้ประเภทขยะถูกต้องและชัดเจนทุกถัง
 - หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง


 
 - สำนักการพิมพ์มีจุดพักขยะที่เหมาะสมตามหลักวิชาการและเพียงพอ โดยสำนักงาน
    เลขาธิการวุฒิสภาได้กำหนดพื้นที่รองรับขยะของแต่ละประเภท ณ บริเวณ ชั้น B1

     - หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง    

 - สำนักการพิมพ์กำหนดจุดทิ้งขยะโดยกำหนดผู้รับผิดชอบในการตรวจการทิ้งขยะ
    และมีการสุ่มตรวจสอบการทิ้งขยะถูกต้องทุกจุด 

         - เดือนมกราคม 2567
         - เดือนกุมภาพันธ์ 2567

         - เดือนมีนาคม 2567
         - เดือนเมษายน 2567

          - เดือนพฤษภาคม 2567
          - เดือนมิถุนายน 2567
          - เดือนกรกฎาคม 2567
          - เดือนสิงหาคม 2567
          - เดือนกันยายน 2567
          - เดือนตุลาคม 2567
          - เดือนพฤศจิกายน 2567
          - เดือนธันวาคม 2567



- สำนักการพิมพ์ ได้ดำเนินการจัดเก็บและจัดการขยะให้ถูกสุขลักษณะตามกฎหมาย
และระเบียบที่เกี่ยวข้องตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง การเก็บ ขน และกำจัดสิ่งปฏิกูล
หรือมูลฝอย พ.ศ. 2544 โดยสำนักงานเขตดุสิตเข้าดำเนิน การจัดการเก็บและ
จัดการขยะมูลฝอยไปจัดการให้ถูกสุขลักษณะตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง

 - หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง

- มีการติดตาม ตรวจสอบการกำจัดขยะของผู้รับจ้างอย่างเหมาะสมตามหลักวิชาการ
โดยขยะแต่ละประเภทสำนักการพิมพ์ได้ส่งให้สำนักงานเขตดุสิตดำเนินการจัดการ
ให้ถูกสุขลักษณะตามกฎหมาย

 - หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง

- สำนักการพิมพ์ ดำเนินการคัดแยกขยะตามประเภทขยะที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมภายใน
สำนักการพิมพ์อย่างถูกต้องเหมาะสม โดยไม่มีการเผาขยะในบริเวณหรือพื้นที่
ของสำนักการพิมพ์เนื่องจากมีแนวทางมาตรการจัดการขยะที่เหมาะสม

 - หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง


 

4.1.2 การนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์หรือนำกลับมาใช้ใหม่ ส่งผลให้ขยะที่จะส่งไปกำจัดมีปริมาณน้อยลง
          (1) มีการนำขยะกลับมาใช้ใหม่



          
(2) มีการบันทึกข้อมูลปริมาณขยะแต่ละประเภทครบถ้วนทุกเดือน












 

          
(3) มีการวิเคราะห์ปริมาณขยะเทียบค่าเป้าหมายที่ได้กำหนดจากหมวด 1 ข้อ 1.1.5
















        (4) ปริมาณขยะที่ส่งกำจัดมีแนวโน้มลดลง


          
           - สำนักการพิมพ์มีแนวทางและกิจกรรมการนำขยะกลับมา
            ใช้ประโยชน์หรือนำกลับมาใช้ใหม่ จำนวน 6 เรื่อง ดังนี้ 
           - หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง

          - สำนักการพิมพ์ได้มอบหมายผู้รับผิดชอบดำเนินการบันทึก
             ข้อมูลปริมาณขยะแต่ละประเภทครบถ้วนทุกเดือน ดังนี้
                   
- เดือนมกราคม 2567
                   - เดือนกุมภาพันธ์ 2567
                   - เดือนมีนาคม 2567
                   - เดือนเมษายน 2567
                   - เดือนพฤษภาคม 2567
                   - เดือนมิถุนายน 2567
                   
- เดือนกรกฎาคม 2567
                  - เดือนสิงหาคม 2567
                  - เดือนกันยายน 2567
                  - เดือนตุลาคม 2567
                  - เดือนพฤศจิกายน 2567
                  - เดือนธันวาคม 2567

         - กำหนดค่าเป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะต้องมีปริมาณขยะ
           ที่นำกลับมาใช้ใหม่ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 45 จากปริมาณขยะ
           ทุกประเภท ดังนี้
           โดยมีการนำขยะกลับมาใช้ ดังนี้
                 
- เดือนมกราคม 2567
                   - เดือนกุมภาพันธ์ 2567
                   - เดือนมีนาคม 2567
                   - เดือนเมษายน 2567
                   - เดือนพฤษภาคม 2567
                   - เดือนมิถุนายน 2567
                   
- เดือนกรกฎาคม 2567
                  - เดือนสิงหาคม 2567
                  - เดือนกันยายน 2567
                  - เดือนตุลาคม 2567
                  - เดือนพฤศจิกายน 2567
                  - เดือนธันวาคม 2567

          - ปริมาณขยะที่ส่งกำจัดมีแนวโน้มขยะลดลงและมีการนำขยะ
            กลับมาใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นตามค่าเป้าหมายที่กำหนด
            โดยขยะที่นำกลับมาใช้ใหม่ไม่น้อยกว่าร้อยละ 45 ดังนี้

                  - เดือนมกราคม 2567
                   - เดือนกุมภาพันธ์ 2567
                   - เดือนมีนาคม 2567
                   - เดือนเมษายน 2567
                   - เดือนพฤษภาคม 2567
                   - เดือนมิถุนายน 2567
                   
- เดือนกรกฎาคม 2567
                  - เดือนสิงหาคม 2567
                  - เดือนกันยายน 2567
                  - เดือนตุลาคม 2567
                  - เดือนพฤศจิกายน 2567
                  - เดือนธันวาคม 2567

4.2 การจัดการน้ำเสีย

4.2.1 การจัดการน้ำเสียของสำนักงาน และคุณภาพน้ำทิ้งจะต้องอยู่ในมาตรฐานกฎหมายที่เกี่ยวข้องโดยมีแนวทาง
         (1) การกำหนดผู้รับผิดชอบดูแลการจัดการน้ำเสียและ
          จะต้องมีความรู้ความเข้าใจในการดูแล





         (2) มีการบำบัดน้ำเสียอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เช่น 
มีตะแกรงดักเศษอาหาร
              มีบ่อดักไขมัน หรือมีระบบบำบัดน้ำเสียเหมาะสมกับองค์ประกอบน้ำเสีย






         (3) มีการบำบัดน้ำเสียครบทุกจุดที่ปล่อยน้ำเสีย













        (4) มีผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำทิ้งที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
             ตาม
ที่กฎหมายกำหนด


 

          - สำนักการพิมพ์ ได้มีการกำหนดผู้รับผิดชอบดูแลการจัดการน้ำเสีย
            ลงในแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนสำนักการพิมพ์เป็นสำนักงานสีเขียว (Green Office)
            ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 หมวดที่ 4 การจัดการของเสีย
            และแผนการจัดการน้ำเสียของสำนักการพิมพ์ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

            -หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง

          - สำนักการพิมพ์ มีการบำบัดน้ำเสียอย่าเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
            โดยมีแหล่งกำเนิดซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้
              1. น้ำเสียที่เกิดจากการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ของสำนักการพิมพ์
              2. น้ำเสียที่เกิดจากการใช้ในกิจกรรมประจำวัน 

           -หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง                

          - สำนักการพิมพ์ได้มีการบำบัดน้ำเสียครบทุกจุดที่มีการปล่อยน้ำเสีย
             โดยได้มีการตรวจระบบการจัดการน้ำเสีย ดังนี้        
              1. น้ำเสียที่เกิดจากการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ของสำนักการพิมพ์
              สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา เริ่มตั้งแต่แหล่งกำเนิด จำนวน 2 จุด
                   (1) อ่างล้างเพลท
                   (2) อ้างล้างมือข้างเครื่องพิมพ์ออฟเซต
             2. น้ำเสียที่เกิดจากการใช้ในกิจกรรมประจำวัน (ล้างจาน) จำนวน 3 จุด ดังนี้
                   (1) ห้องครัว (ล้างจาน) ชั้น MB1 จำนวน 2 ห้อง
                   (2) ห้องครัว (ล้างจาน) ชั้น B1 จำนวน 1 ห้อง

             -หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง 

  

         - สำนักการพิมพ์มีผลการตรวจคุณภาพน้ำทิ้งที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด
             1. การจัดการน้ำเสียที่เกิดจาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ของสำนักการพิมพ์ สำนักงาน
                 เลขาธิการวุฒิสภาโดยมีการวัดค่าน้ำเสียก่อนการบำบัด
                 จากบริษัท เบตเตอร์ เวส แคร์ จำกัด

                  - ครั้งที่ 1 เดือนตุลาคม 2566
                  - ครั้งที่ 2 เดือนกุมภาพันธ์ 2567


             2. การจัดการน้ำเสียที่เกิดจาการใช้ในกิจกรรมประจำวันโดยระบบบำบัดน้ำเสีย
                  ของอาคารรัฐสภาแห่งใหม่ (เกียกกาย)โดยสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา
                  กำหนดให้บริษัทที่ปรึกษาบริหารโครงการ CAMA จัดส่งข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสียและ
                  การทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ประกอบด้วย ผลการบำบัดน้ำเสียและผลการตรวจสอบน้ำทิ้ง
                  จากระบบบำบัดน้ำเสียของอาคารรัฐสภา (เกียกกาย)

                  - เดือนตุลาคม 2565
                  - เดือนพฤศจิกายน 2565
                  - เดือนธันวาคม 2565
                  - เดือนมกราคม 2566
                  - เดือนกุมภาพันธ์ 2566

                  - เดือนมีนาคม 2566
                  - เดือนเมษายน 2566
                  - เดือนพฤษภาคม 2566

                 - เดือนมิถุนายน 2566
                - เดือนกรกฎาคม 2566
                 - เดือนสิงหาคม 2566
                 - เดือนกันยายน 2566

 

4.2.2 การดูแลอุปกรณ์บำบัดน้ำเสีย โดยมีแนวทาง
      (1) มีการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย หรือมีการตักและทำความสะอาดเศษอาหาร
              และไขมันออกจากตะแกรงดักขยะ หรือบ่อดักไขมัน ตามความถี่ที่
              กำหนดอย่างเหมาะสมกับปริมาณและการปนเปื้อน

 
         (2) มีการนำตะกอนจากระบบบำบัดน้ำเสียหรือเศษอาหาร น้ำมัน
              และไขมันจากถัง/บ่อดักไขมันไปกำจัดอย่างถูกต้อง


    
        (3) มีการตรวจสอบ ปรับปรุง ซ่อมแซมระบบบำบัดน้ำเสีย
             ให้สามารถใช้งานและมีประสิทธิภาพอยู่เสมอ









        (4) มีการตรวจสอบการรั่วไหลของน้ำเสียอย่างสม่ำเสมอ
             เพื่อป้องกันการปนเปื้อนของน้ำเสียไปยังแหล่งอื่น ๆ


             สำนักการพิมพ์ได้ดำเนินการดูแลระบบและอุปกรณ์บำบัดน้ำเสีย ตามความถี่ที่กำหนด
                อย่างถูกต้องเหมาะสมและบันทึกการตรวจ
ตามแบบฟอร์มที่กำหนด

               -หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง


             - สำนักการพิมพ์มีการตรวจสอบและนำกากตะกอนหรือเศษอาหารไปกำจัดอย่างถูกต้อง
               -หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง


               - สำนักการพิมพ์ได้มีการตรวจสอบ ปรับปรุง ซ่อมแซม อุปกรณ์บำบัดน้ำเสีย
                  ให้สามารถใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพสัปดาห์ละ 2 ครั้ง ดังนี้
                         1. การตรวจสอบ ปรับปรุง ซ่อมแซม อุปกรณ์บำบัดน้ำเสียที่เกิf
                             จากการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ของสำนักการพิมพ์ในเบื้องต้น
                             ณ ห้องเก็บถังน้ำเสีย ชั้นใต้ดิน B2
                          2. การตรวจสอบ ปรับปรุง ซ่อมแซม อุปกรณ์บำบัดน้ำเสียที่เกิดจากการใช้
                              ในกิจกรรมประจำวัน (ล้างจาน) จำนวน 3 จุด

                -หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง

             - สำนักการพิมพ์ได้มีการตรวจสอบการรั่วไหลของน้ำเสียอย่างสม่ำเสมอ
               สัปดาห์ละ 2 ครั้ง
                          1. ตรวจสอบการรั่วไหลของน้ำเสียที่เกิดจากการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
                               ของสำนักการพิมพ์ ณ ห้องเก็บถังน้ำเสีย ชั้นใต้ดิน B2
                               อย่างสม่ำเสมอ โดยได้ดำเนินการตรวจสอบเป็นประจำ
                          2. ตรวจสอบการรั่วไหลของน้ำเสียที่เกิดจากการใช้ใน
                              กิจกรรมประจำวัน (ล้างจาน) จำนวน 3 จุด

                   -หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง
เอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงาน           - แผนการดำเนินงานฯ / คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานฯ
              -แผน/คำสั่งแต่ตั้งคณะทำงาน
             มาตรการการจัดการของเสีย