• ความตัดกันของสี default black white yellow black
  • ปรับขนาดตัวอักษร smaller default bigger
 
 
 
 
 
 

ปี 2568

หมวดที่ 3
การใช้ทรัพยากรและพลังงาน

หมวด/ตัวชี้วัด หลักฐาน/เอกสารอ้างอิงการตรวจประเมิน

3.1 การใช้น้ำ

3.1.1 มาตรการหรือแนวทางใช้น้ำมีความเหมาะสมกับสำนักงานจะต้องประกอบไปด้วยรายละเอียด ดังนี้ 

          
(1) กำหนดมาตรการประหยัดนำ การสร้างความตระหนักในการใช้น้ำ
          (2) การกำหนดเวลาการใช้น้ำ เช่น เวลารดน้ำต้นไม้
          (3) มีการนำน้ำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่
          (4) การใช้อุปกรณ์ประหยัดน้ำ หรือมีแผนในการเปลี่ยนไปใช้อุปกรณ์ประหยัดน้ำ

















 

3.1.1 มาตรการหรือแนวทางใช้น้ำมีความเหมาะสมกับสำนักงาน จะต้องประกอบไปด้วยรายละเอียด ดังนี้ 

 (1) -1 ประกาศสำนักกฎหมาย เรื่อง มาตรการลดใช้พลังงาน ทรัพยากร การควบคุมมลพิษทางอากาศ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568
 (1) -2 การสร้างความตระหนักในการใช้น้ำ
      (หลักฐานการเผยแพร่ภาพอินโฟกราฟิกผ่านช่องทางสื่อออนไลน์ต่าง ๆ เช่น Application Line ,Facebook และติดสติกเกอร์รณรงค์ตามจุดที่มีการใช้น้ำ เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์และรณรงค์สร้างความตระหนักในการใช้น้ำอย่างรู้คุณค่า)
(2) การกำหนดเวลาการใช้น้ำ เช่น เวลารดน้ำต้นไม้
     (กำหนดเวลารดน้ำต้นไม้วันละ 1 ครั้ง เวลา 06.00-08.00 น.)
(3) การกำหนดรูปแบบการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่
     
(กำหนดรูปแบบการใช้น้ำและการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ด้วยการนำแนวคิดหลัก 3R มาปรับใช้)
(4) การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดน้ำ
    (แนวทางการปฏิบัติในการเปลี่ยนอุปกรณ์ กรณีอุปกรณ์หรือสุขภัณฑ์เสียหรือชำรุด) 
(5) วิดิโอรณรงค์ประหยัดน้ำ
(6) ภาพอินโฟกราฟิกผลการใช้น้ำประปา (ปี 2568)

3.1.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมายและวิเคราะห์ผล

การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย
         
(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำแต่ละเดือน
          
(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำต่อหน่วย
         
(3) บรรลุเป้าหมาย
          
(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย
          
(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำแต่ละเดือน
          
(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำต่อหน่วย
          
(3) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข

หมายเหตุ: การเปรียบเทียบข้อมูลสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสมของหน่วยงาน เช่น เปรียบเทียบต่อจำนวนบุคลากร หรือเปรียบเทียบต่อกิจกรรม หรือเปรียบเทียบต่อพื้นที่ เป็นต้น

3.1.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมายและวิเคราะห์ผล 
 

     (1)-(4) ข้อมูลการใช้น้ำต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมายและวิเคราะห์ผล ปี 2567 กับปี 2568 

(มกราคม) 
(กุมภาพันธ์) (มีนาคม) (เมษายน) (พฤษภาคม) (มิถุนายน)
(กรกฎาคม) (สิงหาคม) (กันยายน) (ตุลาคม) (พฤศจิกายน) (ธันวาคม)



 

3.1.3 การปฏิบัติตามมาตรการประหยัดน้ำในพื้นที่ทำงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)


 

3.1.3 การปฏิบัติตามมาตรการประหยัดน้ำในพื้นที่ทำงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)



 

3.2 การใช้พลังงาน

3.2.1 มาตรการหรือแนวทางการใช้ไฟฟ้าเหมาะสมกับสำนักงาน ประกอบด้วย

(1) กำหนดมาตรการประหยัดการใช้ไฟฟ้า การสร้างความตระหนักในการใช้ไฟฟ้า
(2) การกำหนดเวลาการใช้ไฟฟ้า/อุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น เวลาการเปิด–ปิด
(3) การใช้พลังงานทดแทน
(4) มีการใช้อุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า หรือมีแผนในการเปลี่ยนไปใช้อุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้าในอนาคต






















 

3.2.1 กำหนดมาตรการหรือแนวทางการใช้ไฟฟ้าเหมาะสมกับสำนักงาน ประกอบด้วย

(1) - 1 ประกาศสำนักกฎหมาย เรื่อง มาตรการลดใช้พลังงาน ทรัพยากร การควบคุมมลพิษทางอากาศ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568
(1) - 2 การสร้างความตระหนักในการใช้ไฟฟ้า
    (หลักฐานการประชาสัมพันธ์และรณรงค์ให้บุคลากรมีส่วนร่วมและปฏิบัติตามแนวทางการใช้ไฟฟ้าที่เหมาะสมกับสำนักกฎหมาย เพื่อเป็นการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ และยังช่วยลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก ด้วยการเผยแพร่ภาพอินโฟกราฟิก (Infographics) ผ่านช่องทาง Application Line, Facebook และติดสติกเกอร์รณรงค์ ภาพมาตรการตามจุดที่มีการใช้ไฟฟ้า)
(2) กำหนดเวลาการใช้ไฟฟ้า/อุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น เวลาการเปิด-ปิด
     (กำหนดเวลาเปิด-ปิด ไฟฟ้าในช่วงเวลา 12.00-13.00 น. และคำนวณการประหยัดไฟฟ้า กรณีปิดหลอดไฟฟ้าที่ไม่จำเป็น)    
(3) การใช้พลังงานทดแทน
     (เครื่องชาร์จพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Charger) ใช้สำหรับชาร์จแบตกล้องถ่ายรูปและไมโครโฟน)
(4) มีการใช้อุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า / มีแนวทางปฏิบัติ 
    (แนวทางการปฏิบัติในการเปลี่ยนอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า กรณีเสียหรือชำรุด และใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าประหยัดไฟ เบอร์ 5) 
(5) ภาพอินโฟกราฟิกผลการใช้ไฟฟ้า (ปี 2568)

 

3.2.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย และวิเคราะห์ผล

การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย
           
(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าแต่ละเดือน
           
(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย
           
(3) บรรลุเป้าหมาย
           
(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย
          
(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าแต่ละเดือน
          
(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย
         
(3) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
หมายเหตุ: การเปรียบเทียบข้อมูลสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสมของหน่วยงาน เช่น เปรียบเทียบต่อจำนวนบุคลากร หรือเปรียบเทียบต่อกิจกรรม หรือเปรียบเทียบต่อพื้นที่ เป็นต้น

3.2.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย และวิเคราะห์ผล

     (1)-(4) ข้อมูลการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมายและวิเคราะห์ผล ปี 2567 กับปี 2568 

(มกราคม) 
(กุมภาพันธ์) (มีนาคม) (เมษายน) (พฤษภาคม) (มิถุนายน)
(กรกฎาคม) (สิงหาคม) (กันยายน) (ตุลาคม) (พฤศจิกายน) (ธันวาคม)





 

3.2.3 การปฏิบัติตามมาตรการประหยัดไฟฟ้าในพื้นที่ทำงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)


 

3.2.3 การปฏิบัติตามมาตรการประหยัดไฟฟ้าในพื้นที่ทำงาน (หลักฐานการสำรวจพื้นที่ที่มีการใช้ไฟฟ้า ตามมาตรการ)

 

3.2.4 มาตรการหรือแนวทางการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงในการเดินทางที่เหมาะสมกับสำนักงาน ประกอบด้วย
(1) กำหนดมาตรการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง การเดินทางที่เหมาะสมกับสำนักงาน
(2) การประชุมผ่านระบบออนไลน์ (Video Conference)

(3) การศึกษาเส้นทาง และวางแผนการเดินทาง
(4) การตรวจสอบและซ่อมบำรุงดูแลยานพาหนะ
(5) การใช้บริการขนส่งสาธารณะ หรือการใช้รถไฟฟ้า หรือการเดินทางไปด้วยกัน



















 

3.2.4 มาตรการหรือแนวทางการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงในการเดินทางที่เหมาะสมกับสำนักงาน ประกอบด้วย

(1) - 1 ประกาศสำนักกฎหมาย เรื่อง มาตรการการลดใช้พลังงานและทรัพยากร และการควบคุมมลพิษทางอากาศ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568
(2) - 1 การสัมภาษณ์ผ่านระบบออนไลน์
(2) - 2 การสื่อสารผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
      (หลักฐานการนำเทคโนโลยีต่าง ๆ มาใช้ในการติดต่อสื่อสารและติดต่อราชการกับหน่วยงานภายนอกผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ เช่น โทรศัพท์สำนักงาน อีเมล แอปพลิเคชันไลน์ เพื่อเป็นการประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิงและลดการเดินทางที่ไม่จำเป็น)
(3) การวางแผนการเดินทาง
     (วางแผนและศึกษาเส้นทางการจราจรก่อนออกเดินทางทุกครั้ง)
(4) การตรวจสอบและซ่อมบำรุงดูแลยานพาหนะ
     (แผนการตรวจสอบ ดูแล และบำรุงรักษายานพาหนะของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568)
(5) - 1 การใช้บริการขนส่งสาธารณะ หรือการใช้รถไฟฟ้า
     (เดินทางไป - กลับ จากการปฏิบัติงาน โดยใช้บริการรถขนส่งสาธารณะ ผลสำรวจการเดินทางและข้อมูลเปรียบเทียบ ก่อนและหลังการรณรงค์การใช้น้ำมันเชื้อเพลิงในการเดินทางของข้าราชการ)
(5) - 2 การโดยสารรถยนต์ไปด้วยกัน (Car Pool)
(6) ภาพอินโฟกราฟิกผลการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง (ปี 2568)

3.2.5 มีการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อระยะทางเปรียบเทียบกับเป้าหมาย และวิเคราะห์ผล
การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย
(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงแต่ละเดือน
(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วย
(3) บรรลุเป้าหมาย
(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
ารเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย
(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงแต่ละเดือน
(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วย
(3) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
หมายเหตุ: การเปรียบเทียบข้อมูลสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสมของหน่วย เช่น เปรียบเทียบต่อจำนวนพนักงาน หรือเปรียบเทียบต่อกิจกรรม หรือเปรียบเทียบต่อพื้นที่ หรือเปรียบเทียบต่อระยะทาง เป็นต้น

3.2.5 มีการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อระยะทางเปรียบเทียบกับเป้าหมาย และวิเคราะห์เป้าหมาย

      (1)-(4) ข้อมูลการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อระยะทางเปรียบเทียบกับเป้าหมาย และวิเคราะห์ผล ปี 2567 กับปี 2568

(มกราคม) 
(กุมภาพันธ์) (มีนาคม) (เมษายน) (พฤษภาคม) (มิถุนายน)
(กรกฎาคม) (สิงหาคม) (กันยายน) (ตุลาคม) (พฤศจิกายน) (ธันวาคม)



 

3.3 การใช้ทรัพยากรอื่น ๆ

3.3.1 มาตรการหรือแนวทางการใช้กระดาษที่เหมาะสมกับสำนักงาน ประกอบด้วย

(1) การสร้างความตระหนักในการใช้กระดาษ
(2) การกำหนดรูปแบบการใช้กระดาษ
(3) การใช้เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ หรือไฟล์ดิจิทัล
(4) การนำกระดาษกลับมาใช้ใหม่
























 

3.3.1 มาตรการหรือแนวทางการใช้กระดาษที่เหมาะสมกับสำนักงาน
     
        3.3.1 ประกาศสำนักกฎหมาย เรื่อง มาตรการลดใช้พลังงาน ทรัพยากร การควบคุมมลพิษทางอากาศ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568

(1) การสร้างความตระหนักในการใช้กระดาษ
       (หลักฐานการเผยแพร่ภาพอินโฟกราฟิกผ่านช่องทางสื่อออนไลน์ต่าง ๆ เช่น Application Line ,Facebook และหลักฐานการติดสติกเกอร์รณรงค์ ภาพมาตรการฯ ตามจุดที่มีการใช้กระดาษ เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์และรณรงค์สร้างความตระหนักในการใช้กระดาษอย่างมีประสิทธิภาพ)
(2) การกำหนดรูปแบบการใช้กระดาษ
     (กำหนดรูปแบบการใช้กระดาษ โดยการนำหลัก 3R มาปรับใช้ให้เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน มีการกำหนดจุดคัดแยกกระดาษ A4)
(3) การใช้เอกสารอิเล็กทรอนิกส์
      (หลักฐานการใช้เอกสารอิเล็กทรอนิกส์มาปรับใช้ในการปฏิบัติงาน และการใช้เครื่องมือออนไลน์ต่าง ๆ เพื่ออำนวยความสะดวกในการทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การใช้ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์, Application Line, Facebook, QR-Code ในการแจ้งข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ เพื่อเป็นการลดการสิ้นเปลืองพลังงาน กระดาษ หมึกพิมพ์และการสึกหรอของเครื่องพิมพ์)
(4) การนำกระดาษกลับมาใช้ใหม่
      (กระดาษ A4 ที่ใช้แล้ว 2 หน้า คัดแยกไว้เป็นขยะรีไซเคิลและจำหน่ายให้กับผู้รับซื้อ)
(5) ภาพอินโฟกราฟิกผลการใช้กระดาษ (ปี 2568)

3.3.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้กระดาษต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย และวิเคราะห์ผล
การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย
(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษแต่ละเดือน
(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษต่อหน่วย
(3) บรรลุเป้าหมาย
(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย
(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษแต่ละเดือน
(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษต่อหน่วย
(3) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
หมายเหตุ: การเปรียบเทียบข้อมูลสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสมของหน่วยงาน เช่น เปรียบเทียบต่อจำนวนบุคลากร หรือเปรียบเทียบต่อกิจกรรม หรือเปรียบเทียบต่อพื้นที่ เป็นต้น

3.3.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้กระดาษต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมายและวิเคราะห์ผล

        (1)-(4) ข้อมูลการใช้กระดาษต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมายและวิเคราะห์ผล ปี 2567 กับปี 2568 

(มกราคม) 
(กุมภาพันธ์) (มีนาคม) (เมษายน) (พฤษภาคม) (มิถุนายน)
(กรกฎาคม) (สิงหาคม) (กันยายน) (ตุลาคม) (พฤศจิกายน) (ธันวาคม)
 

3.3.3 การปฏิบัติตามมาตรการประหยัดกระดาษในพื้นที่ทำงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)

3.3.3 การปฏิบัติตามมาตรการประหยัดกระดาษในพื้นที่ทำงาน  (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)

3.3.4 มาตรการหรือแนวทางการใช้หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุอุปกรณ์เหมาะสมกับสำนักงาน ประกอบด้วย

(1) กำหนดมาตรการในการใช้วัสดุอุปกรณ์สำนักงาน
(2) มีแนวทางการใช้อุปกรณ์สำนักงานร่วมกัน
(3) การสร้างความตระหนักในการใช้































 

3.3.4 มาตรการหรือแนวทางการใช้หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุอุปกรณ์เหมาะสมกับสำนักกฎหมาย

(1) กำหนดมาตรการในการใช้วัสดุอุปกรณ์สำนักงาน

     ประกาศสำนักกฎหมาย เรื่อง มาตรการลดใช้พลังงาน ทรัพยากร การควบคุมมลพิษทางอากาศ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568
(2) มีแนวทางการใช้อุปกรณ์สำนักงานร่วมกัน
     (แนวทางการใช้วัสดุอุปกรณ์สำนักงาน เครื่องพิมพ์ และกำหนดรูปแบบการใช้ กำหนดจุดวางเครื่องพิมพ์และวัสดุอุปกรณ์สำนักงานสำหรับใช้ร่วมกันภายในกลุ่มงาน)
(3) การสร้างความตระหนักในการใช้
      (หลักฐานการสร้างความตระหนักในการใช้หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุอุปกรณ์ เช่น การเผยแพร่ภาพอินโฟกราฟิก (Infographics)  มาตรการและแนวทางการใช้หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุอุปกรณ์ และผลการใช้ทรัพยากรและพลังงาน ผ่านช่องทาง Application Line ,Facebook  ติดสติกเกอร์รณรงค์ และมาตรการฯ ตามจุดที่มีการใช้หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุอุปกรณ์ เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์และสร้างความตระหนักในการใช้หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุอุปกรณ์ อย่างมีประสิทธิภาพ)

เอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงาน
    1.  แผนการตรวจสอบดูแลและบำรุงรักษาเครื่องพิมพ์/เครื่องถ่ายเอกสาร
    2.  ภาพอินโฟกราฟิกผลการใช้หมึกพิมพ์ (ปี 2568)

    3.  ข้อมูลการใช้หมึกพิมพ์ สรุปสาเหตุและแนวทางแก้ไข ปี 2568
(มกราคม) 
(กุมภาพันธ์) (มีนาคม) (เมษายน) (พฤษภาคม) (มิถุนายน)
(กรกฎาคม) (สิงหาคม) (กันยายน) (ตุลาคม) (พฤศจิกายน) (ธันวาคม)

3.3.5 การดำเนินตามมาตรการประหยัดการใช้หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุอุปกรณ์สำนักงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)
 

3.3.5 การดำเนินตามมาตรการประหยัดการใช้หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุอุปกรณ์สำนักงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)
 

3.4 การประชุมและการจัดนิทรรศการ

3.4.1 มาตรการหรือแนวทางการจัดการประชุมและนิทรรศการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
   

(1) กำหนดมาตรการจัดการประชุมและนิทรรศการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ในรูปแบบ Green Meeting
(2) มีการประชุมผ่านระบบออนไลน์เพื่อลดการใช้พลังงานและทรัพยากร
(3) มีการใช้เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ หรือไฟล์ดิจิทัล ในการส่งหนังสือเชิญเข้าร่วมประชุม การส่งเอกสาร/ข้อมูลการประชุม ได้แก่ QR code, Email, Social Network< Intranet เป็นต้น

3.4.1 มาตรการหรือแนวทางการจัดการประชุมและนิทรรศการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

(1) กำหนดมาตรการจัดการประชุมและนิทรรศการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ในรูปแบบ Green Meeting
              (1) -1 ประกาศสำนักกฎหมาย เรื่อง แนวทางสำหรับการจัดประชุม อบรม สัมมนา กิจกรรมต่าง ๆ และการคัดเลือกสถานที่ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568
              (1) -2 อินโฟกราฟิก แนวทางการจัดประชุมหรือนิทรรศการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
              (1)- 3 แบบฟอร์มการคัดเลือกสถานที่ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
              (1) -4 แหล่งสืบค้นโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
              (1) -5 รายชื่อโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
              (1) 6 ขั้นตอนการเลือกใช้สถานบริการเพื่อจัดประชุม สัมมนา หรือจัดนิทรรศการ

(2) มีการประชุมผ่านระบบออนไลน์เพื่อลดการใช้พลังงานและทรัพยากร

(3) มีการใช้เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ หรือไฟล์ดิจิทัล ในการส่งหนังสือเชิญเข้าร่วมประชุม การส่งเอกสาร/ข้อมูลการประชุม ได้แก่ QR code, Email, Social Network, Intranet เป็นต้น 

  

เอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงาน
      1. ภาพอินโฟกราฟิกสรุปสถิติการใช้ห้องประชุม (ปี 2568)

3.4.2 การจัดการประชุมและนิทรรศการที่มีการใช้วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ลดการใช้ทรัพยากร - พลังงาน และลดของเสียที่เกิดขึ้น จะต้องดำเนินการ ดังนี้

          
(1) การกำหนดขนาดห้องประชุมเหมาะสมกับจำนวนผู้เข้าประชุม

(2) ห้องประชุมหรือสถานที่จัดประชุมหรือพื้นที่จัดนิทรรศการไม่มีการตกแต่งด้วยวัสดุที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้งหรือวัสดุที่ย่อยสลายยาก เช่น โฟม หรือลดการใช้พลังงานได้ (เป็นการประชุม Out door) เป็นต้น
(3) มีแนวทางปฏิบัติการใช้พลังงาน หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าของการใช้ห้องประชุม
(4) การจัดเตรียมอาหารและเครื่องดื่ม ที่มีความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ลดการใช้บรรจุภัณฑ์ที่ย่อยสลายยาก ลดปริมาณขยะที่เกิดขึ้นและต้องมีการคัดแยกขยะ

 

3.4.2 การจัดการประชุมและนิทรรศการที่มีการใช้วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ลดการใช้ทรัพยากร - พลังงาน และลดของเสียที่เกิดขึ้น จะต้องดำเนินการ

        (1) การกำหนดขนาดห้องประชุมเหมาะสมกับจำนวนผู้เข้าประชุม
        (2) ห้องประชุมหรือสถานที่จัดประชุมหรือพื้นที่จัดนิทรรศการไม่มีการตกแต่งด้วยวัสดุที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง หรือวัสดุที่ย่อยสลายยาก
        (3) แนวทางปฏิบัติการใช้พลังงาน หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าของการใช้ห้องประชุม
        (4) การจัดเตรียมอาหารและเครื่องดื่มที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม