• ความตัดกันของสี default black white yellow black
  • ปรับขนาดตัวอักษร smaller default bigger
 
 
 
 
 
 

Green Office

หมวดที่ 3
การใช้งานทรัพยากรและพลังงาน

หมวด/ตัวชี้วัด หลักฐาน/เอกสารอ้างอิงการตรวจประเมิน

3.1 การใช้น้ำ

3.1.1 มาตรการหรือแนวทางใช้น้ำมีความเหมาะสมกับสำนักงาน จะต้องประกอบไปด้วย รายละเอียดดังนี้

(1) การสร้างความตระหนักในการใช้น้ำ
(2) การกำหนดเวลาการใช้น้ำ เช่น เวลารดน้ำต้นไม้ เป็นต้น
(3) การกำหนดรูปแบบการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่
(4) การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดน้ำ

3.1.1 มาตรการหรือแนวทางใช้น้ำมีความเหมาะสมกับสำนักงาน 
        1.1 ประกาศสำนักกฎหมาย เรื่อง มาตรการและแนวทางปฏิบัติในการประหยัดพลังงานและทรัพยากรต่าง ๆ 
        1.2 มาตรการการใช้ทรัพยากรและพลังงาน (มาตรการประหยัดน้ำ)
        1.3. มาตรการหรือแนวทางใช้น้ำมีความเหมาะสมกับสำนักกฎหมาย

               1)  สร้างควาตระหนักในการใช้น้ำอย่่างประหยัด
               2)  ปิดก๊อกน้ำให้สนิททุกครั้งหลังการใช้งานโดยไม่ปล่อยให้น้ำไหลทิ้งไปโดยไม่ได้ประโยชน์
               3)  การกำหนดเวลาการใช้น้ำ เช่น กำหนดเวลารดน้ำต้นไม้ เช้าหรือเย็น
               4) การนำหลักหลัก 3 R มาปรับใช้ให้เหมาะส
               5)  หมั่นตรวจสอบการรั่วไหลของน้ำและดูแลอุปกรณ์การใช้น้ำ เช่น สุขภัณฑ์ ก๊อกน้ำ ท่อน้ำ 
               6)  เปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดน้ำทุกครั้งเมื่ออุปกรณ์ชำรุด เช่น ก๊อกน้ำ สายชำระ
          1.4 อินโฟกราฟิกส์ : มาตรการการใช้น้ำสำนักกฎหมาย
          1.5 VDO : มาตรการการใช้น้ำของสำนักกฎหมาย

   

3.1.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย

การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย
(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำแต่ละเดือน
(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำต่อหน่วย
(3) บรรลุเป้าหมาย
(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย
(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำแต่ละเดือน
(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำต่อหน่วย
(3) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
หมายเหตุ: การเปรียบเทียบข้อมูลสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสมของหน่วยงาน เช่น เปรียบเทียบต่อจำนวนบุคลากร หรือเปรียบเทียบต่อกิจกรรม หรือเปรียบเทียบต่อพื้นที่ เป็นต้น

3.1.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย

1) บันทึกข้อมูลการใช้น้ำประปา ประจำปี 2565 และ 2566 แต่ละเดือน
2) ตารางเปรียบเทียบการใช้น้ำประปา (หน่วย) ระหว่างปี 2565 และ ปี 2566 
3)
แผนภูมิเปรียบเทียบค่าน้ำประปา (หน่วย) ระหว่างปี 2565 และปี 2566

4) สรุปผลการเปรียบเทียบข้อมูลการใช้น้ำ สาเหตุและแนวทางแก้ไข

 

3.1.3 ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดน้ำในพื้นที่ทำงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)

3.1.3 ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดน้ำในพื้นที่ทำงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)

3.2 การใช้พลังงาน

3.2.1 มาตรการหรือแนวทางใช้ไฟฟ้าเหมาะสมกับสำนักงาน ประกอบด้วย

(1) การสร้างความตระหนักในการใช้ไฟฟ้า
(2) การกำหนดเวลาการใช้ไฟฟ้า เช่น เวลาการเปิด–ปิด เป็นต้น
(3) การใช้พลังงานทดแทน
(4) การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า

3.2.1 กำหนดมาตรการหรือแนวทางใช้ไฟฟ้าเหมาะสมกับสำนักงาน ประกอบด้วย
 
1. ประกาศสำนักกฎหมาย เรื่อง มาตรการและแนวทางปฏิบัติในการประหยัดพลังงานและทรัพยากรต่าง ๆ 
  1) การสร้างความตระหนักในการใช้ไฟฟ้า
  2) การกำหนดเวลาการใช้ไฟฟ้า เช่น เวลาการเปิด–ปิด เป็นต้น
  3) การใช้พลังงานทดแทน
  4) การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า
 

3.2.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย เปรียบเทียบกับเป้าหมาย

การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย
(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าแต่ละเดือน
(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย
(3) บรรลุเป้าหมาย
(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย
(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าแต่ละเดือน
(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย
(3) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
หมายเหตุ: การเปรียบเทียบข้อมูลสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสมของหน่วยงาน เช่น เปรียบเทียบต่อจำนวนบุคลากร หรือเปรียบเทียบต่อกิจกรรม หรือเปรียบเทียบต่อพื้นที่ เป็นต้น

3.2.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย เปรียบเทียบกับเป้าหมาย

3.2.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย เปรียบเทียบกับเป้าหมายการเก็บข้อมูล
   1) บันทึกข้อมูลการใช้ไฟฟ้า และเปรียบเทียบการใช้ไฟฟ้า ประจำปี 2565  แต่ละเดือน
  2) สรุปผลการดำเนินงานการใช้ไฟฟ้าของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ประจำปี 2566 (ภาพรวม)
    3) สรุปผลการดำเนินงานการใช้ไฟฟ้าของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ประจำปี 2566 (รายเดือน)

3.2.3 ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดไฟฟ้าในพื้นที่ทำงาน

การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย
(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าแต่ละเดือน
(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย
(3) บรรลุเป้าหมาย
(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย
(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าแต่ละเดือน
(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย
(3) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
หมายเหตุ: การเปรียบเทียบข้อมูลสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสมของหน่วยงาน เช่น เปรียบเทียบต่อจำนวนบุคลากร หรือเปรียบเทียบต่อกิจกรรม หรือเปรียบเทียบต่อพื้นที่ เป็นต้น

3.2.3 ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดไฟฟ้าในพื้นที่ทำงาน (หลักฐานการสำรวจพื้นที่ที่มีการใช้ไฟฟ้า ตามมาตรการ)

    - ปฏิบัติตามมาตรการประหยัดไฟฟ้าในพื้นที่ทำงาน (หลักฐานการสำรวจพื้นที่ที่มีการใช้ไฟฟ้าตามมาตรการ)

3.2.4 มาตรการหรือแนวทางการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงในการเดินทางที่เหมาะสมกับสำนักงาน ประกอบด้วย

(1) การสื่อสารผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
(2) การวางแผนการเดินทาง
(3) การซ่อมบำรุงดูแลยานพาหนะ

3.2.4 มาตรการหรือแนวทางการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงในการเดินทางที่เหมาะสมกับสำนักงาน ประกอบด้วย

   1) มีหนังสือแจ้งเรื่องแนวทางการสื่อสารผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
   2) มีแนวทางการวางแผนการเดินทาง
   3) มีแผนการซ่อมบำรุงดูแลยานพาหนะ
   4) รณรงค์การใช้จักรยานหรือใช้ขนส่งสาธารณะมาทำงาน

3.2.5 มีการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย

การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย
(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงแต่ละเดือน
(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วย
(3) บรรลุเป้าหมาย
(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย
(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงแต่ละเดือน
(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วย
(3) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
หมายเหตุ: การเปรียบเทียบข้อมูลสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสมของหน่วย เช่น เปรียบเทียบต่อจำนวนพนักงาน หรือเปรียบเทียบต่อกิจกรรม หรือเปรียบเทียบต่อพื้นที่ หรือเปรียบเทียบต่อระยะทาง เป็นต้น

3.2.5 มีการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย

1) จัดเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันแต่ละเดือน หน่วยเป็นลิตรเปรียบเทียบค่าเป้าหมาย
2) สรุปสาเหตุสำคัญกรณีบรรลุเป้าหมายและไม่บรรลุเป้าหมาย พร้อมแนวทางการแก้ไข

3.3 การใช้ทรัพยากรอื่น ๆ

3.3.1 มาตรการ/แนวทางการใช้กระดาษที่เหมาะสมกับสำนักงาน ประกอบด้วย

(1) การสร้างความตระหนักในการใช้กระดาษ
(2) การกำหนดรูปแบบการใช้กระดาษ
(3) การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์
(4) การนำกระดาษกลับมาใช้ใหม่

3.3.1 มาตรการ/แนวทางการใช้กระดาษที่เหมาะสมกับสำนักงาน

3.3.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้กระดาษต่อหน่วย เปรียบเทียบกับเป้าหมาย

การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย
(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษแต่ละเดือน
(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษต่อหน่วย
(3) บรรลุเป้าหมาย
(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย
(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษแต่ละเดือน
(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษต่อหน่วย
(3) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
หมายเหตุ: การเปรียบเทียบข้อมูลสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสมของหน่วยงาน เช่น เปรียบเทียบต่อจำนวนบุคลากร หรือเปรียบเทียบต่อกิจกรรม หรือเปรียบเทียบต่อพื้นที่ เป็นต้น

3.3.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้กระดาษต่อหน่วย เปรียบเทียบกับเป้าหมาย

 

3.3.3 ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดกระดาษในพื้นที่ทำงาน

(ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)

3.3.3 ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดกระดาษในพื้นที่ทำงาน 

(ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)

3.3.4 มาตรการหรือแนวทางการใช้หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุอุปกรณ์เหมาะสมกับสำนักงาน ประกอบด้วย

(1) การสร้างความตระหนักในการใช้
(2) การกำหนดรูปแบบการใช้
(3) การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์

3.3.4 มาตรการหรือแนวทางการใช้หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุอุปกรณ์เหมาะสมกับสำนักงาน ประกอบด้วย

 

3.3.5 ร้อยละของการดำเนินตามมาตรการประหยัดการใช้หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุอุปกรณ์สำนักงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)

3.3.5 ร้อยละของการดำเนินตามมาตรการประหยัดการใช้หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุอุปกรณ์สำนักงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)

3.4 การประชุมและการจัดนิทรรศการ

3.4.1 ร้อยละของการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการส่งข้อมูลเพื่อเตรียมการประชุม

ได้แก่ QR Code E-mail สื่อสังคมออนไลน์ (Social Network) อินทราเน็ต เป็นต้น

3.4.1 ร้อยละของการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการส่งข้อมูลเพื่อเตรียมการประชุม

 

3.4.2 การจัดการประชุมและนิทรรศการที่มีการใช้วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ลดการใช้ทรัพยากรพลังงาน และลดของเสียที่เกิดขึ้น ประกอบด้วย

(1) การจัดเตรียมขนาดห้องประชุมเหมาะสมกับจำนวนผู้เข้าประชุมหรือจัดนิทรรศการ
(2) ห้องประชุมหรือพื้นที่จัดนิทรรศการไม่มีการตกแต่งด้วยวัสดุที่ย่อยสลายยาก/วัสดุที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง
(3) การกำหนดแนวทางเลือกสถานที่ภายนอกสำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
(4) การจัดเตรียมสื่อที่ใช้ในการประชุม โดยจะต้องลดการใช้กระดาษและหมึกพิมพ์
(5) การจัดเตรียมอาหารและเครื่องดื่มที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

3.4.2 การจัดการประชุมและนิทรรศการที่มีการใช้วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ลดการใช้ทรัพยากรพลังงาน และลดของเสียที่เกิดขึ้น