• ความตัดกันของสี default black white yellow black
  • ปรับขนาดตัวอักษร smaller default bigger
 
 
 
 
 
 

Green Office

หมวดที่ 2
การสื่อสารและสร้างจิตสำนึก

 
หมวด/ตัวชี้วัด หลักฐาน/เอกสารอ้างอิงการตรวจประเมิน

2.1 การอบรมให้ความรู้และประเมินความเข้าใจ

2.1.1 กำหนดแผนการฝึกอบรม ดำเนินการอบรม การประเมินผล และบันทึกประวัติการฝึกอบรม

(1) ระบุหลักสูตรและความถี่การอบรมลงในแผนการฝึกอบรม โดยหลักสูตรมีรายละเอียดอย่างน้อย ดังนี้
- ความสำคัญของสำนักงานสีเขียว
- การใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
- การจัดการมลพิษและของเสีย
- การจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
- ก๊าซเรือนกระจก
(2) ดำเนินการฝึกอบรมตามแผนการฝึกอบรมในข้อ (1) โดยผู้รับการอบรมจะต้องมากกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายในแต่ละหลักสูตร
(3) ประเมินผลการฝึกอบรม เช่น ข้อสอบ ประเมินขณะปฏิบัติงาน เป็นต้น
(4) จัดทำประวัติการอบรมของพนักงาน

1. ดำเนินการจัดทำแผนการฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อมของบุคลากรสำนักกฎหมาย 
     - หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง


2. - 3. ดำเนินการจัดฝึกอบรมตามแผนการฝึกอบรม โดยมีผู้เข้าอบรมร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมาย ในแต่ละหลักสูตร และประเมินผลการฝึกอบรม จำนวน 6 หลักสูตร ดังนี้
         2.1 โครงการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสำนักงานสีเขียว (Green Office) หลักสูตร สำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Office) ผ่านระบบออนไลน์
               - ประกาศนียบัตรรับรองผ่านการอบรม
               - ประเมินผลการฝึกอบรม
               - แบบประเมิน ก่อน - หลัง การฝึกอบรม
                - ใบลงทะเบียน หลักสูตร สำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
         2.2 โครงการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสำนักงานสีเขียว (Green Office) หลักสูตร สำนักงานสีเขียว ผ่านระบบออนไลน์
                - ประกาศนียบัตรรับรองผ่านการอบรม
                - ประเมินผลการฝึกอบรม
                - แบบประเมิน ก่อน - หลัง การฝึกอบรม
                - ใบลงทะเบียน หลักสูตร สำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
          2.3 การอบรมให้ความรู้และประเมินความเข้าใจ โครงการอบรมให้ความรู้และความเข้าใจด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อขับเคลื่อนสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาเป็นสำนักงานสีเขียว (Green Office) โดยมีเนื้อหา ดังนี้
- ความสำคัญของสำนักงานสีเขียว
- การใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
- การจัดการมลพิษและของเสีย
- การจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
- ก๊าซเรือนกระจก
                  - ใบลงทะเบียน
                  - ประเมินผลการฝึกอบรม
                  - แบบประเมิน ก่อน - หลัง การฝึกอบรม
                  - ภาพกิจกรรมการฝึกอบรม
           2.4 การอบรมให้ความรู้และความเข้าใจในหลักสูตรการจัดทำทะเบียนกฎหมายและข้อกำหนดด้านสิ่งแวดล้อม
                  - ใบลงทะเบียน
                  - ประเมินผลการฝึกอบรม
                  - แบบประเมิน ก่อน - หลัง การฝึกอบรม
                  - ภาพกิจกรรมการฝึกอบรม
           2.5 โครงการฝึกอบรมเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการระบุประเด็นปัญหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม และการจัดทำแผนงานโครงการที่นำไปสู่การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
                  - ใบลงทะเบียน
                  - ประเมินผลการฝึกอบรม
                  - แบบประเมิน ก่อน - หลัง การฝึกอบรม
                  - ภาพกิจกรรมการฝึกอบรม
          2.6 โครงการซักซ้อมอพยพหนีไฟตามแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา
                   - การซักซ้อมอพยพหนีไฟตามแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภารับฟังบรรยายสรุปและให้ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตนเมื่อเป็นผู้ประสบเหตุอัคคีภัย (ภาคทฤษฎี)
                    - การซักซ้อมอพยพหนีไฟตามแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา (ภาคปฏิบัติ)
                      - ใบลงทะเบียน
                       - ประเมินผลการฝึกอบรม
                        - แบบประเมิน ก่อน - หลัง การฝึกอบรม
                        - ภาพกิจกรรมการฝึกอบรม

4. สถิติประวัติการอบรมของบุคลากรสำนักกฎหมาย
       - หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง

 

2.1.2 กำหนดผู้รับผิดชอบด้านการอบรมแต่ละหลักสูตรมีความเหมาะสม

(1) ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้องเข้าใจเนื้อหาในการอบรม
(2) ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้องมีหลักฐานแสดงความสามารถ เช่น ใบรับรองจากหน่วยงานภายนอก ประวัติ ประสบการณ์

(1) - (2) ประวัติวิทยากรในการอบรม โดยผู้รับผิดชอบในการอบรมมีความรู้ความเข้าใจและมีความเชี่ยวชาญในการอบรม
               - หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง

 

2.2 การรณรงค์และประชาสัมพันธ์แก่พนักงาน

2.2.1 มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและแนวทางสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสำนักงาน

(1) กำหนดหัวข้อและความถี่การสื่อสารอย่างน้อย ดังนี้

(2) กำหนดช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพกับหัวข้อการสื่อสารและองค์กร (ไม่จำกัดจำนวนช่องทาง)

(3) กำหนดกลุ่มเป้าหมายรับเรื่องสื่อสาร (ผู้ที่เกี่ยวข้องที่อยู่ภายในและภายนอกสำนักงาน)

(4) กำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสาร


(5) มีการประเมินความพึงพอใจด้านการสื่อสารและสร้างจิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อม

(1) กำหนดหัวข้อและความถี่การสื่อสารอย่างน้อย 9 หัวข้อ ดังนี้
       - หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง






















(2) กำหนดช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพกับหัวข้อการสื่อสาร จำนวน 5 ช่องทางในแผนการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อม
       - หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง
(3) มีการกำหนดกลุ่มเป้าหมายรับเรื่องสื่อสารผู้ที่เกี่ยวข้องที่อยู่ภายในและภายนอกสำนักตามแบบฟอร์มที่กำหนดในแผนการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อม
       - หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง
(4) ดำเนินการกำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมในแต่ละช่องทางอย่างชัดเจน
       
- หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง
(5) มีการประเมินความพึงพอใจด้านการสื่อสารและสร้างจิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อนำมาพัฒนาปรับปรุงการสื่อสารภายในสำนักกฎหมาย

       - หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง

2.2.2 มีการรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ตามที่กำหนดในข้อ 2.2.1

 

2.2.2 มีการรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ตามที่กำหนดในข้อ 2.2.1

 - หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง

2.2.3 ร้อยละความเข้าใจนโยบายสิ่งแวดล้อมและการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว (สุ่มอย่างน้อย 4 คน) โดยจะต้องสอบถามพนักงานแต่ละคนอย่างน้อยตามข้อ 

2.2.3 ร้อยละความเข้าใจนโยบายสิ่งแวดล้อมและการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว (สุ่มอย่างน้อย 4 คน) โดยจะต้องสอบถามพนักงานแต่ละคนอย่างน้อยตามข้อ 

2.2.4 มีช่องทางรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม และนำมาปรับปรุงแก้ไข โดยต้องมีแนวทางดังนี้

(1) มีช่องทางเพื่อรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม เช่น Line, QR Code การประชุมเว็บไซต์
(2) มีผู้รับผิดชอบในการรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น
(3) มีการแสดงข้อเสนอแนะด้านสิ่งแวดล้อมและการจัดการ
(4) มีการรายงานข้อเสนอแนะและการจัดการแก่ผู้บริหาร (บรรยายให้เหมาะสม)

2.2.4 มีช่องทางรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม และนำมาปรับปรุงแก้ไข โดยต้องมีแนวทางดังนี้