Green Office
หมวด 5
สภาพแวดล้อมและความปลอดภัย
หมวด/ตัวชี้วัด | หลักฐาน/เอกสารอ้างอิงการตรวจประเมิน |
---|---|
5.1 อากาศในสำนักงาน |
|
5.1.1 การควบคุมมลพิษทางอากาศในสำนักงาน (1)- (2) มีแผนการดูแลรักษา ได้แก่ เครื่องปรับอากาศ เครื่องพิมพ์เอกสาร (Printer) ม่านมูลี่ |
5.1.1 การควบคุมมลพิษทางอากาศในสำนักงาน (1) - (2) สำนักประชาสัมพันธ์ได้จัดทำแผนตรวจสอบ ดูแลและบำรุงรักษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 มีการดูแลรักษา ตรวจสอบโดยผู้รับผิดชอบว่ามีการเสื่อมสภาพหรือชำรุดหรือไม่ เป็นประจำทุกเดือน และมีการล้างเครื่องปรับอากาศปีละ 2 ครั้ง ตามแผนของสำนักบริหารงานกลาง และมีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบตามแผนการดูแลรักษา โดยบุคลากรทุกคนช่วยกันดูแลเครื่องพิมพ์เอกสาร (Printer) ม่าน มู่ลี่ เป็นประจำและตรวจเช็คหลังเลิกใช้งาน และมีรายงานการดำเนินการควบคุมมลพิษทางอากาศ |
(3) มีการปฏิบัติตามแผนที่กำหนดในข้อ 1 | (3.1) แผนควบคุมตรวจสอบและบำรุงรักษาเครื่องปรับอากาศภายในของสำนักบริหารงานกลาง สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง - แผนงานทำความสะอาดระบบปรับอากาศของอาคารรัฐสภา หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง - แผนกำหนดการเปลี่ยนแผ่นกรองอากาศของเครื่องส่งลมเย็น (AHU) ของสำนักบริหารงานกลาง หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง - การดูแลบำรุงรักษาเครื่องปรับอากาศ ภายในสำนักประชาสัมพันธ์ หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง - สำนักบริหารงานกลางได้ดำเนินการเปลี่ยนแผ่นกรองอากาศของเครื่องส่งลมเย็น (AHU) ภายในสำนักประชำสัมพันธ์ หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง (3.2) การบำรุงดูแลรักษาและตรวจสอบสภาพม่าน/มูลี่ |
(4) มีการควบคุมมลพิษทางอากาศจากการปฏิบัติในข้อ 1 | (4) สำนักประชาสัมพันธ์ได้จัดทำมาตรการ (หมวด 5) สภาพแวดล้อมและความปลอดภัยเพื่อการควบคุมมลพิษทางอากาศ หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง |
(5) การจัดวางเครื่องปริ้นเตอร์ ให้ห่างไกลผู้ปฏิบัติงาน | (5.1) สำนักประชาสัมพันธ์มีการจัดวางเครื่องพิมพ์เอกสาร (Printer) ให้ห่างไกลผู้ปฏิบัติงานอย่างน้อย 1.5 เมตร มีอากาศถ่ายเทหมุนเวียนและมีการตรวจบำรุงรักษาในการทำความสะอาดและตรวจเช็คเครื่องคอมพิวเตอร์ และเครื่องพิมพ์เอกสาร (Printer) หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง (5.2) แผนการบำรุงรักษาระบบเครือข่ายและซ่อมแซมเครื่องคอมพิวเตอร์ของสำนักเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง |
(6) การควบคุมควันไอเสียรถยนต์บริเวณสำนักงาน เช่น ติดป้ายดับเครื่องยนต์ | (6) มีการจัดทำป้ายดับเครื่องยนต์ขณะจอดรถที่ลานจอด - มีการควบคุมควันไอเสียรถยนต์ โดยการดับเครื่องยนต์ทุกครั้งหลังจอด และมีการจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อเผยแพร่ผ่านสื่อออนไลน์อย่างสม่ำเสมอ |
(7) การป้องกันและกำจัดแมลงที่จะสร้างมลพิษทางอากาศภายในสำนักงาน (ถ้ามี) | (7) สำนักบริหารงานกลาง ดำเนินการพ่นหมอกควันกำจัดยุง ณ สำนักประชาสัมพันธ์ วันเสาร์ที่ 3 ก.พ. 2567 ซึ่งเป็นวันหยุดปฎิบัติราชการและเป็นการฉีดพ่นภายนอกอาคารปฏิบัติงานจึงไม่ก่ออันตรายให้กับบุคลากรสำนักประชาสัมพันธ์ อีกทั้งมีการเลี้ยงปลาหางนกยูง เพื่อกำจัดลูกน้ำ บริเวณสระน้ำด้านหน้าสำนักประชาสัมพันธ์ ชั้น 2 เพื่อลดปริมาณยุง |
(8) มีการสื่อสารหรือแจ้งให้ทราบถึงการเกิดมลพิษทางอากาศจากกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อการเตรียมความพร้อมและระวังการได้รับอันตราย (สามารถพิจารณาจากเอกสารหรือภาพถ่าย เป็นหลักฐานประกอบ) | (8) การสื่อสารให้ทราบถึงการเกิดมลพิษทางอากาศจากกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อการเตรียมความพร้อม (8.1) สำนักประชาสัมพันธ์ได้จัดทำมาตรการป้องกันและรองรับผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านมลพิษทางอากาศและมลพิษทางเสียง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง (8.2) สำนักประชาสัมพันธ์ ได้ดำเนินการจัดทำประกาศสำนักประชาสัมพันธ์ เรื่อง มาตรการการลดใช้พลังงาน ทรัพยากร และการควบคุมมลพิษทางอากาศ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง (8.3) สำนักประชาสัมพันธ์ ได้จัดทำประกาศสำนักประชาสัมพันธ์ เรื่อง มาตรการควบคุมการปฏิบัติงานของผู้ค้าขาย ผู้รับจ้าง ด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยของสำนักประชาสัมพันธ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง |
5.1.2 มีการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่หรือมีการกำหนด พื้นที่สูบบุหรี่ที่เหมาะสมและปฏิบัติตามที่กำหนด |
5.1.2 มีการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่หรือมีการกำหนด พื้นที่สูบบุหรี่ที่เหมาะสมและปฏิบัติตามที่กำหนด - เดือนมกราคม 2567 - เดือนกุมภาพันธ์ 2567 - เดือนมีนาคม 2567 - เดือนเมษายน 2567 - เดือนพฤษภาคม 2567 - เดือนมิถุนายน 2567 - เดือนกรกฎาคม 2567 - เดือนสิงหาคม 2567 - เดือนกันยายน 2567 - เดือนตุลาคม 2567 - เดือนพฤศจิกายน 2567 - เดือนธันวาคม 2567 เนื่องในวันงดสูบบุหรี่โลก คณะทำงานขับเคลื่อนสำนักประชาสัมพันธ์เป็นสำนักงานสีเขียว (Green office) หมวด 5 สภาพแวดล้อมและความปลอดภัย ร่วมกับสำนักวิชาการ สำนักกำกับและตรวจสอบ และสำนักการประชุม ร่วมกันเดินรณรงค์งดสูบบุหรี่ ภายในสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา |
(2) มีการติดสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่ | (2) สำนักประชาสัมพันธ์ ได้ดำเนินการติดสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่ ในสำนักประชาสัมพันธ์ทุกพื้นที่ปฏิบัติงานเป็นเขตปลอดบุหรี่ หากฝ่าฝืนมีโทษตามที่กฎหมายกำหนด หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง |
(3) มีการติดสัญลักษณ์เขตสูบบุหรี่ (4) เขตสูบบุหรี่จะต้องไม่อยู่ในบริเวณที่ก่อให้เกิด ความเดือดร้อนรำคาญแก่ประชาชนที่อยู่บริเวณ ข้างเคียง ไม่อยู่ในบริเวณทางเข้า ออกของ สถานที่ที่ให้มีการคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ และไม่อยู่ในบริเวณที่เปิดเผยอันเป็นที่เห็นได้ชัดแก่ผู้มาใช้สถานที่นั้น |
(3 - 4 ) สำนักประชาสัมพันธ์เป็นเขตปลอดบุหรี่ 100 % เนื่องจากผลการสำรวจบุคคลากรสำนักประชาสัมพันธ์พบว่าไม่มีผู้ใดสูบบุหรี่ จึงไม่มีความจำเป็นต้องกำหนดจุดสูบบุหรี่แยกจากตัวอาคารปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 มาตรา 44 |
(5) ไม่พบการสูบบุหรี่ หรือก้นบุหรี่นอกเขตสูบบุหรี่ | (5) สำนักประชาสัมพันธ์ มีการตรวจสอบพื้นที่นอกเขตสูบบุหรี่ เดือนละ 2 ครั้ง ในสัปดาห์ที่ 2 และ 4 ของทุกเดือน และได้จัดทำรายงานตารางการตรวจสอบไม่มีก้นบุหรี่ถูกทิ้งอยู่นอกพื้นที่เขตสูบบุหรี่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ผลปรากฏว่า ไม่พบก้นบุหรี่ถูกทิ้งอยู่นอกพื้นที่เขตสูบบุหรี่สำนักประชาสัมพันธ์
- เดือนมกราคม 2567 |
5.1.3 การจัดการมลพิษอากาศจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคารหรืออื่น ๆ ในสำนักงานที่ส่งผลต่อพนักงาน |
5.1.3 การจัดการมลพิษอากาศจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคารหรืออื่น ๆ ในสำนักงานที่ส่งผลต่อพนักงาน |
(2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดในข้อ (1) แนวทางการกำหนดมาตรการมีดังนี้ มีพื้นที่ทำงานสำรองให้กับพนักงานมีที่กั้นเพื่อกันมลพิษทางอากาศกระทบกับพนักงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้องมีการสื่อสารหรือติดป้ายแจ้งเตือน เพื่อการเตรียมความพร้อมและระวังการได้รับอันตราย | (2) สำนักประชาสัมพันธ์ได้ดำเนินการจัดทำประกาศ สำนักประชาสัมพันธ์ เรื่อง มาตรการป้องกันและรองรับผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านมลพิษทางอากาศและมลพิษทางเสียง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง |
5.2 แสงในสำนักงาน |
|
5.2.1 มีการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง (โดยอุปกรณ์การตรวจวัดความเข้มแสงที่ได้มาตรฐาน) และดำเนินการแก้ไขตามที่มาตรฐานกำหนด |
5.2.1 มีการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง (โดยอุปกรณ์การตรวจวัดความเข้มแสงที่ได้มาตรฐาน) และดำเนินการแก้ไขตามที่มาตรฐานกำหนด |
(2) เครื่องวัดแสงจะต้องมีมาตรฐานและได้รับการสอบเทียบ (แสดงหลักฐานใบรับรอง) | (2) สำนักประชาสัมพันธ์ มีใบรับรองเครื่องมือวัดแสงที่ได้มาตรฐานจากบริษัท อินโนเวทีฟ อินสทรูเม้นต์ จำกัด หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง |
(3) ผลการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานกฎหมายกำหนด | (3) ผลการตรวจวัดความเข้มของแสงของสำนักประชาสัมพันธ์ ปรากฏว่า ค่าความเข้มของแสงสว่างไม่ผ่านมาตรฐาน สำนักประชาสัมพันธ์ จึงได้ทำการแก้ไขปัญหา เรื่องแสงสว่างเบื้องต้นโดยการติดตั้งโคมไฟส่องสว่างในจุดที่แสงสว่างไม่เพียงพอ และฝ่ายช่างของสำนักบริหารงานกลาง ดำเนินการสำรวจจุดที่มีแสงสว่างไม่เพียงพอ เพื่อทำการติดตั้งหลอดไฟ LED ชนิดหลอดยาวเพิ่มเติมให้มีแสงสว่างเพียงพอ - ผลการตรวจวัดแสง - สรุปผลข้อเสนอแนะและแนวทางปรับปรุง - การดำเนินการแก้ไขปัญหาแสงสว่างไม่เพียงพอ ภายในสำนักประชาสัมพันธ์ |
(4) ผู้ที่ตรวจวัดความเข้มแสงจะต้องเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด | (4) ข้อมูลประวัติ ผู้ที่ตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างจากคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดลตามที่กฎหมายกำหนด - อาจารย์พฤทธิ์เลิศ บุญเลิศ |
5.3 เสียง |
|
5.3.1 การควบคุมมลพิษทางเสียงภายในอาคาร สำนักงาน |
5.3.1 การควบคุมมลพิษทางเสียงภายในอาคาร สำนักงาน |
5.3.2 การจัดการเสียงดังจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคารหรืออื่น ๆ ในสำนักงานที่ส่งผลต่อพนักงาน |
5.3.2 การจัดการเสียงดังจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคารหรืออื่น ๆ ในสำนักงานที่ส่งผลต่อพนักงาน |
5.4 ความน่าอยู่ |
|
5.4.1 มีการวางแผนจัดการความน่าอยู่ของ สำนักงานโดยจะต้องดำเนินการ ดังนี้ |
5.4.1 มีการวางแผนจัดการความน่าอยู่ของ สำนักงานโดยจะต้องดำเนินการ ดังนี้ |
(2) มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างเหมาะสมทั้งพื้นทีเฉพาะและพื้นที่ทั่วไป ทั้งใน อาคารและนอกอาคาร | (2) มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ ทั้งภายในและภายนอกอาคาร มีการจัดทำแผนการดูแลพื้นที่กิจกรรม 5 ส ของสำนักประชาสัมพันธ์ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 มีการติดป้ายชื่อห้องและแบ่งพื้นที่ใช้สอยอย่างชัดเจน หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง |
(3) มีการกำหนดเวลาในการดูแลรักษาความสะอาด และความเป็นระเบียบเรียบร้อย ทั้งพื้นที่เฉพาะและพื้นที่ทั่วไป ทั้งในอาคารและนอกอาคาร |
(3) มีการกำหนดเวลาในการดูแลรักษาความสะอาด และความเป็นระเบียบเรียบร้อย ทั้งพื้นที่เฉพาะและพื้นที่ทั่วไป ทั้งในอาคารและนอกอาคาร (3.1) กำหนดเวลาในการดูแลรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง (3.2) สำนักประชาสัมพันธ์ได้ดำเนินการจัดกิจกรรม “Big Cleaning Day” ครั้งที่ 1 ประจำปีงบประมาณ 2567 หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง ครั้งที่ 1 วันที่่ 10 มกราคม 2567 (3.3) สำนักประชาสัมพันธ์ได้ดำเนินการจัดกิจกรรม 5 ส ภายในสำนักประชาสัมพันธ์ตามมาตรการ (หมวด 5) สภาพแวดล้อมและความปลอดภัย โดยมีการรายงานผลการดำเนินกิจกรรมประจำเดือน หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง - เดือนมกราคม 2567 - เดือนกุมภาพันธ์ 2567 - เดือนมีนาคม 2567 - เดือนเมษายน 2567 - เดือนพฤษภาคม 2567 - เดือนมิถุนายน 2567 - เดือนกรกฎาคม 2567 - เดือนสิงหาคม 2567 - เดือนกันยายน 2567 - เดือนตุลาคม 2567 - เดือนพฤศจิกายน 2567 - เดือนธันวาคม 2567 |
(4) การกำหนดแผนงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียว และคงรักษาไว้ของสำนักงานรวมไปถึงมีการปฏิบัติ จริงตามแผนงาน | (4) การกำหนดแผนงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียว และคงรักษาไว้ของสำนักงานรวมไปถึงมีการปฏิบัติ จริงตามแผนงาน (4.1) สำนักประชาสัมพันธ์ได้ดำเนินการจัดทำแผนการตรวจดูแลพื้นที่สีเขียวและมุมพักผ่อน และการเพิ่มพื้นที่สีเขียว หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง (4.2) สำนักประชาสัมพันธ์ ดำเนินการตามแผนการตรวจดูแลพื้นที่สีเขียวและมุมพักผ่อน และการเพิ่มพื้นที่สีเขียวโดยการรายงานผล การปฏิบัติรายเดือน ดังนี้ หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง - เดือนมกราคม 2567 - เดือนกุมภาพันธ์ 2567 - เดือนมีนาคม 2567 - เดือนเมษายน 2567 - เดือนพฤษภาคม 2567 - เดือนมิถุนายน 2567 - เดือนกรกฎาคม 2567 - เดือนสิงหาคม 2567 - เดือนกันยายน 2567 |
5.4.2 ร้อยละการใช้สอยพื้นที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่สำนักงานกำหนด |
5.4.2 ร้อยละการใช้สอยพื้นที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่สำนักงานกำหนด |
5.4.3 ร้อยละการดูแลบำรุงรักษาพื้นที่ต่าง ๆ เช่น พื้นที่สีเขียว พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่ส่วนกลาง และพื้นที่ทำงาน เป็นต้น |
5.4.3 ร้อยละการดูแลบำรุงรักษาพื้นที่ต่าง ๆ เช่น พื้นที่สีเขียว พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่ส่วนกลาง และพื้นที่ทำงาน เป็นต้น |
5.4.4 มีการควบคุมสัตว์พาหะนำโรคและดำเนินการได้ตามที่กำหนด |
5.4.4 มีการควบคุมสัตว์พาหะนำโรคและดำเนินการได้ตามที่กำหนด |
(2) มีการกำหนดความถี่ในการตรวจสอบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรคอย่างน้อยที่สุดเดือนละ 1 ครั้ง | (2) สำนักประชาสัมพันธ์ ได้ดำเนินการกำหนดความถี่ในการตรวจสอบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง |
(3) มีการตรวจสอบร่องรอยตามความถี่ที่ได้กำหนด (เฉพาะตอนกลางวัน) |
(3) สำนักประชาสัมพันธ์ มีการบันทึกผลการตรวจร่องรอยของสัตว์พาหะนำโรค (หนู แมลงสาบ นก และแมลงวัน) ทุกวันจันทร์และวันศุกร์ของทุกสัปดาห์ โดยมีหลักฐานการดำเนินการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง - เดือนมกราคม 2567 - เดือนกุมภาพันธ์ 2567 - เดือนมีนาคม 2567 - เดือนเมษายน 2567 - เดือนพฤษภาคม 2567 - เดือนมิถุนายน 2567 - เดือนกรกฎาคม 2567 - เดือนสิงหาคม 2567 - เดือนกันยายน 2567 - เดือนตุลาคม 2567 - เดือนพฤศจิกายน 2567 - เดือนธันวาคม 2567 |
(4) มีแนวทางที่เหมาะสมกับการจัดการเมื่อพบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรค |
(4) สำนักประชาสัมพันธ์ได้จัดทำแนวทางการป้องกันและการควบคุมสัตว์พาหะนำโรค (หนู แมลงสาบ นก และอื่น ๆ) หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง |
(5) ไม่พบร่องรอยหรือสัตว์นำโรคในระหว่างการตรวจประเมิน หมายเหตุ : การควบคุมสัตว์พาหะนำโรค สำนักงานสามารถควบคุมและจัดการได้เอง หรือว่าจ้างหน่วยงานเฉพาะมาดำเนินการแทน |
(5) สำนักประชาสัมพันธ์ ไม่พบร่องรอยหรือสัตว์พาหะนำโรคในระหว่างการตรวจประเมิน |
5.5 การเตรียมพร้อมต่อสภาวะฉุกเฉิน |
|
5.5.1 การอบรมฝึกซ้อมดับเพลิงและอพยพหนีไฟ ตามแผนที่กำหนด |
5.5.1 การอบรมฝึกซ้อมดับเพลิงและอพยพหนีไฟ ตามแผนที่กำหนด |
(2) จำนวนคนเข้าอบรมฝึกซ้อมดับเพลิงขั้นต้น จะต้องไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 40 ของพนักงานทั้งหมด | (2) บุคลากรของสำนักประชาสัมพันธ์ ได้เข้าร่วมฝึกอบรมซักซ้องแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 โดยกลุ่มงานรักษาความปลอดภัย สำนักบริหารงานกลาง เมื่อวันที่ 11-12 มกราคม 2567 โดยมีบุคลากรสำนักประชาสัมพันธ์เข้าร่วม ร้อยละ 100 หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง |
(3) พนักงานทุกคนจะต้องเข้าฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง |
(3) บุคลากรของสำนักประชาสัมพันธ์ ได้เข้าร่วมการซักซ้อมอพยพหนีไฟเสมือนจริงโดยไม่แจ้งการปฏิบัติล่วงหน้าของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ตามแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา โดยทีมอบรมและระงับอัคคีภัยของบริษัทซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) เมื่อวันศุกร์ที่ 15 มีนาคม 2567 และซักซ้อมแผนฯ เมื่อวันจันทร์ที่ 29 เมษายน 2567 หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง - รายชื่อบุคลากรเข้าร่วมซักซ้อมแผนฯ วันที่ 15 มีนาคม 2567 - รายชื่อบุคลากรเข้าร่วมซักซ้อมแผนฯ วันที่ 29 เมษายน 2567 |
(4) มีการอบรมดับเพลิงขั้นต้นตามแผนที่กำหนด พร้อมแสดงหลักฐาน เช่น ใบรับรองการอบรม ภาพถ่าย เป็นต้น | (4) สำนักประชาสัมพันธ์มีการรวบรวมข้อมูลบุคลากรเข้าร่วมโครงการฝึกอบรมการอพยพหนีไฟ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ได้ดำเนินการ เมื่อวันที่ 11-12 มกราคม 2567 หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง |
(5) มีการฝึกซ้อมอพยพตามแผนที่กำหนด พร้อมแสดงหลักฐาน เช่น ใบรับรอง ภาพถ่าย เป็นต้น | (5) มีการฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ เมื่อวันศุกร์ที่ 15 มีนาคม 2567 และวันจันทร์ที่ 29 เมษายน 2567 หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง 1. ภาพการเข้าร่วมฝึกซ้อมแผนฯ วันศุกร์ที่ 15 มีนาคม 2567 -คลิปวีดิโอการซักซ้อมฯ 2. ภาพการเข้าร่วมฝึกซ้อมแผนฯ วันจันทร์ที่ 29 เมษายน 2567 -คลิปวีดิโอการซักซ้อมฯ |
(6) มีการจุดรวมพลที่สามารถรองรับได้ พร้อมมีป้ายแสดงอย่างชัดเจน | (6) สำนักประชาสัมพันธ์ ได้มีการกำหนดจุดรวมพล ที่สามารถรองรับบุคลากรพร้อมป้ายแสดงอย่างชัดเจน ณ บริเวณริมแม่น้ำเจ้าพระยา หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง ตามแผนฯ หน้า 2 - 8 |
(7) มีการกำหนดเส้นทางหนีไฟ ธงนำทางหนีไฟไปยังจุดรวมพลพร้อมสื่อสารในพื้นที่ปฏิบัติงาน |
(7) สำนักประชาสัมพันธ์ ได้มีการกำหนดเส้นทางหนีไฟ การติดตั้งธงนำทางหนีไฟทุกห้อง ซึ่งมีการกำหนดสีให้มีความแตกต่างกัน หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง |
(8) มีการกำหนดทางออกฉุกเฉิน ทางหนีไฟพร้อมมีป้ายแสดงอย่างชัดเจน | (8) สำนักประชาสัมพันธ์ ได้มีการกำหนดทางออกฉุกเฉิน ทางหนีไฟ พร้อมมีป้ายแสดงอย่างชัดเจน หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง |
5.5.2 มีแผนฉุกเฉินที่เป็นปัจจุบันและเหมาะสม และร้อยละของพนักงานที่เข้าใจแผนฉุกเฉิน (สุ่มสอบถามอย่างน้อย 4 คน) |
5.5.2 มีแผนฉุกเฉินที่เป็นปัจจุบันและเหมาะสม และร้อยละของพนักงานที่เข้าใจแผนฉุกเฉิน (สุ่มสอบถามอย่างน้อย 4 คน) |
5.5.3 ความเพียงพอและการพร้อมใช้งานของอุปกรณ์ระบบดับเพลิงและป้องกันอัคคีภัย และระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้และร้อยละของ พนักงานทราบวิธีการใช้และตรวจสอบอุปกรณ์ ดังกล่าว (สุ่มสอบถามอย่างน้อย 4 คน) |
5.5.3 ความเพียงพอและการพร้อมใช้งานของอุปกรณ์ระบบดับเพลิงและป้องกันอัคคีภัย และระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้และร้อยละของ พนักงานทราบวิธีการใช้และตรวจสอบอุปกรณ์ ดังกล่าว (สุ่มสอบถามอย่างน้อย 4 คน) |
(2) ติดตั้งระบบสัญญาณแจ้งเตือนและต้องพร้อมใช้งาน (2.1) สัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (พื้นที่ มากกว่า 300 ตารางเมตรหรืออาคารสูงเกิน 2 ชั้นขึ้นไป) (2.2) ติดตั้งตัวดักจับควัน (smoke detector) หรือตัวตรวจจับความร้อน (heat detector) |
(2) สำนักประชาสัมพันธ์ ได้มีการติดตั้งระบบสัญญาณแจ้งเตือนและต้องพร้อมใช้งาน หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง |
(3) มีการตรวจสอบข้อ (1) - (2) และหากพบว่าชำรุดจะต้องดำเนินการแจ้งซ่อมและแก้ไข |
(3) สำนักประชาสัมพันธ์ มีการตรวจสอบความพร้อมใช้งานของอุปกรณ์ดับเพลิงสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ทุกวันจันทร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ถังดับเพลิงจะต้องอยู่ในสภาพที่ดี ผงสารเคมีที่อยู่ภายในจะต้องไม่จับตัวแข็ง สังเกตได้จากการจับถัง พลิกไปมา หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง- รายงานประจำเดือนมกราคม 2567 - รายงานประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2567 - รายงานประจำเดือนมีนาคม 2567 - รายงานประจำเดือนเมษายน 2567 - รายงานประจำเดือนพฤษภาคม 2567 - รายงานประจำเดือนมิถุนายน 2567 |
(4) พนักงานจะต้องเข้าใจถึงวิธีการใช้และตรวจสอบอุปกรณ์ดับเพลิงและสัญญาณแจ้งเตือนอย่างน้อยร้อยละ 75 จากที่สุ่มสอบถาม | (4) สำนักประชาสัมพันธ์ ได้ดำเนินการฝึกอบรมซักซ้อมแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย และสาธิตวิธีการใช้ถังดับเพลิง "ดึง ปลด กด ส่าย" เผยแพร่ให้บุคลากรผ่านสื่อ VDO ของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กทม. หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง 1. การฝึกอบรมซักซ้อมแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย 2. ร้อยละของบุคลากรมีความเข้าใจถึงวิธีการใช้และตรวจสอบฯ 3. คลิปวีดิโอ วิธีการใช้ถังดับเพลิง |
(5) ไม่มีสิ่งกีดขวางอุปกรณ์ดับเพลิง และสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ | (5) สำนักประชาสัมพันธ์ ได้ดำเนินการปรับปรุงพื้นที่โดยรอบจุดเก็บอุปกรณ์ดับเพลิง ทำการตีเส้นแดงกำหนดพื้นที่หวงห้ามเฉพาะ ห้ามวางสิ่งกีดขวางอย่างเด็ดขาด หลักฐาน/เอกสารอ้างอิง |